Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78896
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พลภัทร เหมวรรณ | - |
dc.contributor.advisor | อริศรา เจริญปัญญาเนตร | - |
dc.contributor.author | สิทธิณัฐ มนเทียรอาสน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-09-26T12:06:20Z | - |
dc.date.available | 2023-09-26T12:06:20Z | - |
dc.date.issued | 2023-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78896 | - |
dc.description.abstract | Nitrogen dioxide (NO2) is one of air pollution that currently affects in Thailand. The aims of this study are separated into two objectives. Firstly, this research aim to develop an algorithm to analyze the distributing pattern and the related factor that led to the generation of NO2 in Thailand during January 2019 to December 2020 by weekly average. Secondly, this research develops a model for 7 days forecasting the concentration of NO2 in the Central and the Eastern region of Thailand. The algorithm uses data from ground station, and satellite data from Sentinel-5P, and analyzes by applying 9 types of regression equation model. The analysis of spatial distribution and factors related to NO2 concentration uses NO2 data along with meteorological data such as temperature, humidity, and windspeed, and uses Pearson correlation coefficient to analyze. The model for 7 days forecasting the concentration of NO2 will create two types of the model. The first type is analyzed from ground station, and the second type is analyzed from algorithm using data from the first objective, metrology data, and forecasting metrology data by using multiple linear regression. The result of the research reveals that, the average of NO2 concentration in 2019 was higher than NO2 concentration in 2020, and the value was 10.95 ppb and 10.67 ppb respectively. The maximum total annual average of NO2 concentration, seasonal comparison, occurred during the dry season (between November and April) in January 2019 (18.37 ppb), while the minimum average occurred during the wet season (between May and October) in June 2020 (8.05 ppb). The highest average NO2 concentration, regional comparison, was found in the Central region during the fourth week of January 2019 (40.69 ppb), while the lowest average concentration was found in the Northern region during the first week of September 2019 (2.84 ppb). Moreover, the factor that correlated with NO2 concentration were relative humidity and wind speed. In addition, the suitable model for estimating the concentration of NO2 is the Cubic model with coefficient of determination (R2) at 0.72 and the overall accuracy of this model is 70.29 %. Additionally, the model for 7 days forecasting the concentration of NO2 analyzed from ground station had a lower error than the model 7 days forecasting that analyzed from cubic model, with RMSE values of 9.34 and 15.04 respectively. The forecasting model analyzed from ground station has higher overall accuracy than the forecasting model analyzed from cubic model, with values of 72.97 % and 59.05 % respectively. | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาอัลกอริทึมและแบบจำลองคาดการณ์ความเข้มข้น ของก๊าชไนโตรเจนไดออกไซด์ด้วยข้อมูลดาวเทียม ในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Algorithm and predictive model development of nitrogen dioxide concentration using satellite data in Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ไนโตรเจนไดออกไซด์ | - |
thailis.controlvocab.thash | ดาวเทียม | - |
thailis.controlvocab.thash | อัลกอริทึม | - |
thailis.controlvocab.thash | ภูมิสารสนเทศศาสตร์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ถือเป็นหนึ่งในสารมลพิษทางอากาศที่ประเทศไทยได้รับผลกระทบในปัจจุบัน โดยในการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ ได้แก่ 1.เพื่อพัฒนาอัลกอริทึมสำหรับวิเคราะห์รูปแบบการกระจายตัว และการเกิดก๊าซ NO2 บริเวณประเทศไทยในช่วงเดือนมกราคม 2562 ถึงเดือนธันวาคม 2563 แบบเฉลี่ยรายสัปดาห์ และ 2.เพื่อพัฒนาแบบจำลองคาดการณ์ปริมาณค่าความเข้มข้น NO2 บริเวณภาคกลางตอนล่าง และภาคตะวันออกประเทศไทยล่วงหน้า 7 วัน โดยการสร้างอัลกอริทึม จะทำโดยการนำข้อมูลปริมาณค่าความเข้มข้น NO2 มาวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลดาวเทียม Sentinel-5P ด้วยสมการถดถอยเชิงเส้น 9 ประเภท ส่วนทางด้านการวิเคราะห์รูปแบบการกระจายตัว และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อปริมาณค่าความเข้มข้น NO2 ทำการนำข้อมูลปริมาณ ค่าความเข้มข้น NO2 มาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ร่วมกับปัจจัยทางอุตุนิยมวิทยา ได้แก่ ข้อมูลอุณหภูมิ ข้อมูลความชื้นสัมพัทธ์ และข้อมูลความเร็วลม ด้วยวิธีการสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน โดยทางด้านการสร้างแบบจำลองคาดการณ์ล่วงหน้า 7 วัน ทำการสร้างแบบจำลอง 2 ประเภท ได้แก่ แบบจำลองคาดการณ์ที่วิเคราะห์จากข้อมูลปริมาณค่าความเข้มข้น NO2 จากสถานีตรวจวัดภาคพื้นดิน และแบบจำลองคาดการณ์ที่วิเคราะห์จากข้อมูลอัลกอริทึมโดยทำการนำผลการวิเคราะห์ จากวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ได้แก่ ข้อมูลที่วิเคราะห์จากอัลกอริทึม ข้อมูลปริมาณค่าความเข้มข้น NO2 ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา และข้อมูลคาดการณ์อุตุนิยมวิทยาล่วงหน้า 7 วัน นำมาสร้างแบบจำลองคาดการณ์ปริมาณค่าความเข้มข้น NO2 ล่วงหน้า 7 วัน ด้วยวิธีการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า ปริมาณค่าความเข้มข้น NO2 บริเวณประเทศไทยในช่วงปี 2562 มีค่าเฉลี่ยรวมรายปีสูงกว่าปี 2563 โดยหากเปรียบเทียบเชิงฤดูกาล พบว่า ภูมิภาคทั้ง 6 ภูมิภาคของประเทศไทย ปริมาณค่าความเข้มข้น NO2 มีค่าสูงในช่วงฤดูแล้งช่วงเดือนมกราคม 2562 (18.37 ppb) และมีค่าต่ำในช่วงฤดูฝนช่วงเดือนมิถุนายน 2563 (8.05 ppb)โดยหากเปรียบเทียบเชิงภูมิภาค พบว่า บริเวณภาคกลางมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ณ สัปดาห์ที่ 4 เดือนมกราคม 2562 มีค่าเท่ากับ 40.69 ppb และมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดบริเวณภาคเหนือ ณ สัปดาห์ที่ 1 เดือนกันยายน 2562 มีค่าเท่ากับ 2.84 ppb นอกจากนี้ พบว่า ปัจจัยทางอุตุนิยมวิทยาที่มีความสัมพันธ์ต่อปริมาณ NO2ได้แก่ ความชื้นสัมพัทธ์ และความเร็วลม โดยแบบจำลองที่เหมาะสมต่อการประมาณค่าปริมาณค่าความเข้มข้น NO2 ได้แก่ แบบจำลองคิวบิค มีค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจเท่ากับ 0.72 และมีค่าความถูกต้องโดยรวมเท่ากับร้อยละ 70.29 ทางด้านผลการศึกษาของวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 พบว่า แบบจำลองคาดการณ์ปริมาณค่าความเข้มข้น NO2 ล่วงหน้า 7 วัน ที่วิเคราะห์จากสถานีตรวจวัดภาคพื้นดินมีค่าความคลาดเคลื่อน (RMSE) ต่ำกว่าแบบจำลองคาดการณ์ปริมาณค่าความเข้มข้น NO2 ล่วงหน้า 7 วัน ที่วิเคราะห์จากแบบจำลองคิวบิคมีค่าเท่ากับ 9.34 และ 15.04 ตามลำดับ และมีค่าความถูกต้องโดยรวมสูงกว่าแบบจำลองคาดการณ์ปริมาณค่าความเข้มข้น NO2 ล่วงหน้า 7 วัน ที่วิเคราะห์จากแบบจำลองคิวบิค โดยมีค่าความถูกต้องเท่ากับร้อยละ 72.97 และ 59.05 ตามลำดับ | en_US |
Appears in Collections: | POL: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630431018-Sitinat-Montienart.pdf | 3.39 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.