Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78888
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorกิตติพัชญ์ สุขสวัสดิ์en_US
dc.date.accessioned2023-09-20T11:23:07Z-
dc.date.available2023-09-20T11:23:07Z-
dc.date.issued2023-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78888-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study problems and limitations in the development process and area development plan indicators according to the strategy transferring into practice. 2) to make proposals on the process for developing and setting indicators for the provincial cluster development plan. This study is a qualitative research. Collected data by the study Documents and In-depth Interview. The main informant population was divided into 2 groups with a total of 6 organizations involved in the area development plan preparation process as the provincial group level, each level consists of Policy Level and Plan Making Level, totaling 6 people. The results of the study showed that Strategic direction setting process and approaches to achieve the situation determined on the basis of systematic information in Economic, Social, Political and Environmental aspects of the Upper Northern Provincial Cluster 2, through the provincial group development goals. Development issues in each area Including strategies and guidelines for the development of the provincial group can be used to create a framework for defining the development process and setting indicators in 4 steps: 1) Determining strategic standpoints; (Positioning) 2) Determination of the target value of the indicator. 3)Determination of the indicator. and 4) Analysis and selection of indicators based on SMART principles to set goals of the organization for indicators at each level of quality consistent and connected. The suggestion from this study in setting indicators for area development plans according to the approaches for transferring strategies into implementation to achieve results of the development plan of the Upper Northern Provincial Cluster 2 in the next phase in two respects, namely 1) There should be a set of indicators to be appropriate, clear, according to SMART principles and to be a standard that can be driven and transferred into actual practice. There is a connection through the drafting of a KPI Map or KPI Bank key indicators, and 2) Information systems should be implemented, used to integrate information in various fields from each agency that has a corresponding mission to achieve integration Information sharing among agencies in the provinces for analysis and preparation of indicators at each level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนากระบวนการกำหนดตัวชี้วัดแผนพัฒนาพื้นที่ตามแนวทางการถ่ายทอดยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2en_US
dc.title.alternativeDeveloping the process of identified indicators the development plan of the upper northern provincial cluster 2en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการวางแผนเชิงกลยุทธ์-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาชุมชน -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาปัญหาและข้อจำกัดในกระบวนการพัฒนาและกำหนดตัวชี้วัดแผนพัฒนาพื้นที่ตามแนวทางการถ่ายทอดยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ 2) เพื่อจัดทำข้อเสนอเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาและกำหนดตัวชี้วัดแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ในการศึกษาครั้งนี้ ได้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการศึกษาด้านเอกสาร และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก กำหนดประชากรผู้ให้ข้อมูลหลัก แบ่งเป็น 2 กลุ่ม รวมทั้งสิ้น 6 หน่วยงาน ซึ่งเกี่ยวข้องกระบวนการการจัดทำแผนพัฒนาพื้นที่ในระดับกลุ่มจังหวัดในแต่ละระดับ ประกอบด้วย ระดับนโยบาย และระดับการจัดทำแผนรวมทั้งสิ้น 6 คน โดยผลการศึกษาพบว่า กระบวนการกำหนดทิศทางยุทธศาสตร์และแนวทางในการบรรลุสภาพการณ์ที่กำหนดบนพื้นฐานข้อมูลที่รอบด้านอย่างเป็นระบบ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 ผ่านเป้าหมายการพัฒนากลุ่มจังหวัด ประเด็นการพัฒนาในแต่ละด้าน รวมถึงกลยุทธ์และแนวทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด สามารถนำมาสร้างกรอบในการกำหนดกระบวนการพัฒนาและกำหนดตัวชี้วัดใน 4 ขั้นตอน คือ การกำหนดจุดยืนทางยุทธศาสตร์ (Positioning) การกำหนดค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด การกำหนดตัวชี้วัด และการวิเคราะห์และคัดเลือกตัวชี้วัด โดยอาศัยหลัก SMART มาตั้งเป้าหมายขององค์กรเพื่อให้ตัวชี้วัดแต่ละระดับมีคุณภาพ สอดคล้องและเชื่อมโยงกันโดยผู้ศึกษาได้ให้ข้อเสนอแนะในการกำหนดตัวชี้วัดแผนพัฒนาพื้นที่ตามแนวทางการถ่ายทอดยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์ของแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 ในระยะถัดไป ใน 2 ประการ คือ 1) ควรมีการกำหนดตัวชี้วัดให้มีความเหมาะสมชัดเจนตามหลัก SMART และเป็นมาตรฐานสามารถขับเคลื่อนและถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติได้จริงมีความเชื่อมโยงกันผ่านการยกร่าง KPI Map หรือมีตัวชี้วัดหลัก KPI Bank และ 2) ควรมีการนำระบบสารสนเทศมาใช้ในการบูรณาการข้อมูลด้านต่างๆ จากแต่ละหน่วยงานที่มีภารกิจสอดคล้องกันเพื่อให้เกิดการบูรณาการข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงาน ในกลุ่มจังหวัดในการวิเคราะห์และจัดทำตัวชี้วัดในแต่ละระดับen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.