Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78833
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร เพ็ญสูตร-
dc.contributor.authorภัคพล จำรัสen_US
dc.date.accessioned2023-09-09T16:20:02Z-
dc.date.available2023-09-09T16:20:02Z-
dc.date.issued2023-03-29-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78833-
dc.description.abstractThis study aims to examine a curriculum and an educational method at school in which Citizenship program is taught, investigate Citizenship level among students at schools and explore a guideline that encourage and support citizenship level of Chiang Rai Provincial Administrative Organization School and Chiang Rai Wittayakom School. This is qualitative research that document, and related research were studied. The involved informants including two administrators, four teachers from Academic Department, four teachers from Social Science, Citizenship and Culture Department, twelve representatives of students in Mattayaom 5 and twelve representatives of students in Mattayom 6. The findings revealed that 1) Citizenship was taught as one of the subjects in the Social Science Department at both Chiang Rai Provincial Administrative Organization School and Chiang Rai Wittayakom School. The Citizenship subject was taught and integrated with other fundamental subjects i.e., Social Science and Buddhism at Chiang Rai Provincial Administrative Organization School and Ethical Chistianity at Chiang Rai Wittayakom School. The activity-based learning, both in-class activities and outdoor activities, was applied alongside religious and moral practices. Also, Citizenship was educated among teaching staff through training with other organizations. 2) The students of both schools agreed that having Citizenship is to be able to make a decision based on knowledge, information, way of life, expertise and ability to solve problem and live with others in the society/ country. Moreover, they believed that Citizenship also includes democracy, morality, ethics as well as practices indicating a good citizen. When students at Chiang Rai Provincial Administrative Organization School focused on practices based on Buddhism, the students at Chiang Rai Wittayakom School focused on practices based on Christianity. 3) Furthermore, the curriculum focusing on building awareness of Citizenship should be developed as guideline to encourage and support level of citizenship at both schools. The students need to be educated by books and by practice so that they could not only memorize but also learn about Citizenship. Lastly, the opportunities to discuss, express ideas and engage with the community should be more provided.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบการศึกษาความเป็นพลเมืองของโรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงรายและโรงเรียนเชียงรายวิทยาคมen_US
dc.title.alternativeA Comparative study of citizenship education of Chiang Rai provincial organization school and Chiang Rai Wittayakhom Schoolen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนเชียงรายวิทยาคม-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย-
thailis.controlvocab.thashพลเมือง -- หลักสูตร-
thailis.controlvocab.thashหน้าที่พลเมือง -- หลักสูตร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดรูปแบบหลักสูตร และวิธีการให้การศึกษาภายในโรงเรียนที่มีส่วนในการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง ศึกษาความเป็นพลเมืองของนักเรียนในสถานศึกษา และศึกษาแนวทางในการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองของโรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงรายและโรงเรียนเชียงรายวิทยาคม โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ที่ทำการศึกษาเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลจากการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ซึ่งประกอบไปด้วย กลุ่มผู้บริหารการศึกษาจำนวน 2 คน กลุ่มฝ่ายวิชาการจำนวน 4 คน กลุ่มฝ่ายครูหัวหน้าหมวดสาระวิชาสังคม ครูผู้สอนวิชาพลเมือง วัฒนธรรม และวิชาสังคมจำนวน 4 คน กลุ่มตัวแทนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 12 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 12 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) โรงเรียนองค์การบริหารจังหวัดเชียงราย และโรงเรียนเชียงรายวิทยาคมมี การจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับการสร้างพลเมืองในกลุ่มสาระสังคม โดยมีการจัดการเรียนการสอนในวิชาหน้าที่พลเมือง รวมถึงบูรณาการกับรายวิชาพื้นฐานอื่นๆ โดยโรงเรียนองค์การบริหารจังหวัดเชียงรายบูรณาการกับวิชาสังคมและพุทธศาสนา ส่วนโรงเรียนเชียงรายวิทยาคมบูรณาการกับวิชาคริสตจริยธรรม ทั้งนี้ ทั้งสองโรงเรียนเน้นทั้งกิจกรรมในห้องเรียน และกิจกรรมนอกห้องเรียน มีการสอดแทรกการปฏิบัติตนตามหลักศาสนา คุณธรรมจริยธรรม และมีการประเมินทั้งในส่วนของทฤษฎีและปฏิบัติ มีการพัฒนาหลักสูตรอยู่เสมอ รวมถึงการพัฒนาบุคลกรสำหรับการเรียนการสอนเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองผ่านการอบรมร่วมกับหน่วยงานต่างๆ 2) นักเรียนของโรงเรียนองค์การบริหารจังหวัดเชียงราย และโรงเรียนเชียงรายวิทยาคม เห็นว่าการเป็นพลเมืองนั้นจะต้องสามารถตัดสินใจบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร การดำรงชีวิต ความชำนาญ สามารถแก้ปัญหาการอยู่ร่วมกันในสังคม และประเทศชาติได้ สามารถยึดมั่นในวิถีประชาธิปไตย ยึดมั่นคุณความดี มีศีลธรรมจริยธรรมได้ รวมถึงมีพฤติกรรมที่แสดงถึงการเป็นพลเมืองที่ดี โดยนักเรียนของโรงเรียนองค์การบริหารจังหวัดเชียงรายเน้นการแสดงพฤติกรรมตามหลักพุทธศาสนา ส่วนนักเรียนของโรงเรียนเชียงรายวิทยาคมเน้นการแสดงพฤติกรรมตามหลักคริสต์ศาสนา 3) แนวทางในการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองของนักเรียนในโรงเรียนองค์การบริหารจังหวัดเชียงราย และโรงเรียนเชียงรายวิทยาคม พบว่า ควรมีการกำหนดหลักสูตรที่มุ่งเน้นการสร้างจิตสำนึกในการเป็นพลเมืองที่ดีให้กับนักเรียน โดยจะต้องมีการสอนทั้งในหนังสือ สอนตามหลักสูตร และมีการลงมือปฏิบัติจริงควบคู่กับไปในการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และการจดจำมากยิ่งขึ้น รวมถึงมีเวทีที่สามารถส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีโอกาสได้แสดงออกทางความคิดเห็น และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและชุมชนมากขึ้นen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932040 นายภัสพล จำรัส .pdf2.18 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.