Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78819
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวิศ บุญมี-
dc.contributor.authorพงศภัค เถินบุรินทร์en_US
dc.date.accessioned2023-09-09T07:40:45Z-
dc.date.available2023-09-09T07:40:45Z-
dc.date.issued2023-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78819-
dc.description.abstractAccording to the PM10–2.5 pollution problem in Thailand, the human health problem becomes a significant issue. Many researchers and the government of Thailand attempt to help the people to avoid this problem. Nevertheless, the Government’s strategy cannot be successful completely. To support the government to help the people in a risk area, this research aims to propose a study of criteria and optimal site selection for safe zones and healthcare service centers in the air pollution disaster. According to the Saraphee district of Chiangmai province is the high-risk area about the PM10–2.5 pollution problem, Hence, Saraphee district is selected to be a case study. This study proposes a methodology by using the fuzzy analytical hierarchy process (Fuzzy AHP) technique, the fuzzy technique for order performance by similarity to ideal solution (Fuzzy TOPSIS), and a mathematical model for this research. Firstly, the fuzzy AHP is applied to find the weight of each criterion in which all criteria were obtained from the survey and the interview of experts. After that, the fuzzy TOPSIS is employed to evaluate the score of each candidate location. Finally, the mathematical model is applied to seek suitable locations for the case study under several conditions such as budget limit, capacity limit, bound of the number of selected locations in each area, and bound of total score obtained from the evaluation. The results found that the proposed method could generate the optimal solution and seek suitable locations for building safe zones and healthcare service centers in the air pollution disaster. This research will be of great significance in helping decision-makers or government consider the strategic placement of safe zones and healthcare service centers and helping people avoid the hazard of air.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการคัดเลือกพื้นที่ปลอดภัยสำหรับวิกฤตการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอนen_US
dc.title.alternativeSafe zone selection for particulate matter with diameter of less than 2.5 micron (PM 2.5) crisisen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashมลพิษทางอากาศ-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมฝุ่น-
thailis.controlvocab.thashฝุ่น-
thailis.controlvocab.thashPM 2.5-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractจากปัญหามลพิษ PM10 และ PM 2.5 ในประเทศไทย ได้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เสี่ยงจนกลายเป็นปัญหาสำคัญ นักวิจัยหลายคน และรัฐบาลไทยพยายามช่วยเหลือประชาชนเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหานี้ อย่างไรก็ตามกลยุทธ์ของรัฐบาลไม่สามารถแก้ไขปัญหานี้ได้อย่างสมบูรณ์ เพื่อสนับสนุนรัฐบาลในการช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่เสี่ยง งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอการศึกษาเกณฑ์และการเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับเขตปลอดภัยและศูนย์บริการด้านการดูแลสุขภาพในภัยพิบัติมลพิษทางอากาศ เนื่องจากอำเภอสารภีจังหวัดเชียงใหม่เป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูงเกี่ยวกับปัญหามลพิษ PM10 และPM2.5 จึงได้เลือกอำเภอสารภีเป็นกรณีศึกษา การศึกษานี้เสนอวิธีการโดยใช้เทคนิคลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่ (Fuzzy AHP) กับเทคนิคการจัดลำดับค่าที่ใกล้ค่าในอุดมคติแบบฟัชชี่ (Fuzzy TOPSIS) และแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับการวิจัยนี้ ประการแรก วิธีการโดยใช้เทคนิคลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่ถูกนำไปใช้เพื่อหาน้ำหนักของแต่ละเกณฑ์ซึ่งเกณฑ์ทั้งหมดได้มาจากการสำรวจและการสัมภาษณ์จากผู้เชี่ยวชาญ หลังจากนั้น เทคนิคการจัดลำดับค่าที่ใกล้ค่าในอุดมคติแบบฟัชชี่ จะถูกใช้เพื่อประเมินคะแนนของแต่ละสถานที่ และส่วนของแบบจำลองทางคณิตศาสตร์จะถูกนำไปใช้เพื่อค้นหาสถานที่ที่เหมาะสมสำหรับกรณีศึกษาภายใต้เงื่อนไขต่าง ๆเช่น ขีดจำกัดด้านงบประมาณ ขีดจำกัดความสามารถขอบเขตของจำนวนสถานที่ที่เลือกในแต่ละพื้นที่ และคะแนนรวมที่ได้จากการประเมินในแต่ละสถานที่ ผลการวิจัยพบว่าวิธีการที่เสนอสามารถสร้างทางออกที่ดีที่สุด และสามารถค้นหาสถานที่ที่เหมาะสมสำหรับการสร้างศูนย์หลบภัย และศูนย์บริการด้านการดูแลสุขภาพในภัยพิบัติจากมลพิษทางอากาศ งานวิจัยนี้จะมีความสำคัญอย่างยิ่งในการช่วยผู้มีอำนาจตัดสินใจหรือรัฐบาล เพื่อพิจารณาการวางกลยุทธ์ของศูนย์หลบภัย และศูนย์บริการด้านการดูแลสุขภาพที่ช่วยให้ผู้คนหลีกเลี่ยงอันตรายจากมลพิษทางอากาศด้วยen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631064 Phongsaphak Thoenburin.pdf3.86 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.