Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78818
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมเกียรติ อินทสิงห์ | - |
dc.contributor.advisor | ศักดา สวาทะนันทน์ | - |
dc.contributor.author | ฐิติภัทร จักร์คำ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-09-09T07:36:15Z | - |
dc.date.available | 2023-09-09T07:36:15Z | - |
dc.date.issued | 2023-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78818 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study were 1) to develop of local identity integrated learning unit to promote creative thinking ability and sustainable coexistence with nature and science competency for grade 4 students, 2) to study the creative thinking ability of grade 4 students after learning local identity integrated learning unit, and 3) to study the sustainable coexistence with nature and science competency for grade 4 students after learning local identity integrated learning unit. The samples used in the study consisted of 5 experts and 27 grade 4/1 students from Ban Kong Lom School, Wiang Haeng District, Chiang Mai Province. They were chosen by purposive sampling. The instruments used in the study were a quality assessment form for local identity integrated learning unit, a creativity assessment form, and a competency assessment form for coexisting with nature and sustainable science. Data was analyzed using percentages, arithmetic means, and standard deviations. The results revealed the following: 1) Local identity integrated learning unit to promote creative thinking ability and sustainable coexistence with nature and science competency for grade 4 students consisted of the following components: 1) the name of the learning unit, 2) the structure of the learning unit, 3) learning activities, 4) learning measurement and evaluation, and 5) learning management plans. Overall, the quality of learning unit was at the highest level. (mean = 4.54, standard deviation = 0.66) 2) Creative thinking ability of students after studying with local identity integrated learning unit was at an acceptable level, with a mean of 11.56 and a standard deviation of 1.64. This represents 72.22 percent, which meets the criterion set of 70 percent. 3) Sustainable coexistence with nature and science competency of students after studying with local identity integrated learning unit was above expectation, with a mean of 17.27 and a standard deviation of 1.95. This accounts for 86.47 percent, which exceeds the 70 percent criteria set. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการอัตลักษณ์ถิ่นเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดสร้างสรรค์และสมรรถนะการอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 | en_US |
dc.title.alternative | Development of local identity integrated learning unit to promote creative thinking ability and sustainable coexistence with nature and science competency for grade 4 students | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | การเรียนรู้ | - |
thailis.controlvocab.thash | อัตลักษณ์ | - |
thailis.controlvocab.thash | ความคิดสร้างสรรค์ | - |
thailis.controlvocab.thash | การใช้ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการอัตลักษณ์ถิ่นเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดสร้างสรรค์และสมรรถนะการอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2) เพื่อศึกษาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนจากหน่วยการเรียนรู้บูรณาการอัตลักษณ์ถิ่นและ 3) เพื่อศึกษาสมรรถนะการอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนจากหน่วยการเรียนรู้บูรณาการอัตลักษณ์ถิ่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ จำนวน 5 คน และนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนบ้านกองลม อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 27 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบประเมินคุณภาพหน่วยการเรียนรู้บูรณาการอัตลักษณ์ถิ่น แบบประเมินความสามารถในการคิดสร้างสรรค์และแบบประเมินสมรรถนะการอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า 1) หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอัตลักษณ์ถิ่น เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดสร้างสรรค์และสมรรถนะการอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 ประกอบด้วย 1) ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 2) โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ 4) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และ 5) แผนการจัดการเรียนรู้ โดยรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.56 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.63) 2) ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนหลังจากเรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้ บูรณาการอัตลักษณ์ถิ่น โดยรวมอยู่ในระดับสามารถ (ค่าเฉลี่ย 11.56 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.64) คิดเป็นร้อยละ 72.22 ซึ่งผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่กำหนด 3) สมรรถนะการอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืนของนักเรียนหลังจากเรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้บูรณาการอัตลักษณ์ถิ่น โดยรวมอยู่ในระดับเหนือความคาดหวัง (ค่าเฉลี่ย 4.31 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.95) คิดเป็นร้อยละ 86.47 ซึ่งผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่กำหนด | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640232025 ฐิติภัทร จักร์คำ.pdf | 9.57 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.