Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78816
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorหรรษา เศรษฐบุปผา-
dc.contributor.authorกมลรัตน์ วิศววงศ์พันธ์en_US
dc.date.accessioned2023-09-09T07:24:33Z-
dc.date.available2023-09-09T07:24:33Z-
dc.date.issued2023-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78816-
dc.description.abstractLate adolescents have high level of social media use. As a result, late adolescents are prone to social media addiction behaviors and subsequent problems. This quasi-experimental design aimed to study the effect of an empowerment enhancement program on the social media addiction behaviors of late adolescents. The twenty-six samples were late adolescents, aged 19-21 years, who studied in an educational institution under the Office of Vocational Education Commission, Ministry of Education, Northern region. They were divided into two groups of 13 each: the experimental group that received the program and the control group that did not receive the program. The research instruments included 1) a general data questionnaire, 2) a social media addiction test, 3) an assessment of perceived empowerment and 4) an empowerment program on social media addiction behaviors of late adolescents based on Gibson's concept (Gibson, 1995). The program consisted of 8 activities and lasted for 4 weeks. It was conducted twice a week for 45-60 minutes each session. Data were analyzed using descriptive statistics, independent t-tests, and dependent t-tests. The study found that: 1. One month after receiving the empowerment enhancement program, the experimental group's average score on social media addicted behaviors of late adolescents was statistically significantly lower than before receiving the program (p < .05). 2. One month after receiving the empowerment enhancement program, the average score on social media addicted behaviors of late adolescents in the experimental group was statistically significantly lower than that of the control group (p < .05). The results of this study showed that the empowerment enhancement program on social media addiction behaviors of late adolescents could reduce their social media addicted behaviors. Therefore, this program should be used to further reduce social media addicted behavior in this group.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจต่อพฤติกรรมการติดสื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นตอนปลายen_US
dc.title.alternativeEffect of the empowerment enhancement program on social media addiction behaviors of late adolescentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการติดสื่อสังคมออนไลน์-
thailis.controlvocab.thashสื่อสังคมออนไลน์-
thailis.controlvocab.thashสื่อสังคมออนไลน์กับวัยรุ่น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการเพิ่มขึ้นของการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในวัยรุ่นตอนปลาย ส่งผลให้กลุ่มวัยนี้มีแนวโน้มที่จะเกิดพฤติกรรมติดสื่อสังคมออนไลน์และมีปัญหาตามมาได้ การวิจัยนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจต่อพฤติกรรมการติดสื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นตอนปลาย กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นตอนปลาย อายุ 19-21 ปี ที่ศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการเขตภาคเหนือ จำนวน 26 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 13 คน ได้แก่ กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมและกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับโปรแกรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป 2) แบบทดสอบการติดสื่อสังคมออนไลน์ 3) แบบประเมินการรับรู้พลังอำนาจ และ 4) โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจ ซึ่งผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามแนวคิดการเสริมสร้างพลังอำนาจของกิบสัน (Gibson, 1995) ประกอบด้วยกิจกรรม 8 กิจกรรม ดำเนินการสัปดาห์ละ 2 กิจกรรม ครั้งละ 45-60 นาที ติดต่อกันเป็นเวลา 4 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบค่าทีชนิดสองกลุ่ม ที่เป็นอิสระต่อกัน และทดสอบค่าทีชนิดสองกลุ่มที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการศึกษาพบว่า 1. วัยรุ่นตอนปลายที่ได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการติดสื่อสังคมออนไลน์ต่ำกว่าหลังได้รับโปรแกรม 1 เดือน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .05) 2. วัยรุ่นตอนปลายที่ได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมติดสื่อสังคมออนไลน์ต่ำกว่ากลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับโปรแกรม 1 เดือน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .05) ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นสามารถช่วยลดพฤติกรรมติดสื่อสังคมออนไลน์ในวัยรุ่นตอนปลายได้ จึงควรมีการนำโปรแกรมนี้ไปใช้ในการลดพฤติกรรมติดสื่อสังคมออนไลน์ในกลุ่มนี้ต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.