Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78810
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิญา อุทัย-
dc.contributor.advisorชยันต์ วรรธนะภูติ-
dc.contributor.authorกฤตยาณี ตามี่en_US
dc.date.accessioned2023-09-09T06:48:46Z-
dc.date.available2023-09-09T06:48:46Z-
dc.date.issued2023-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78810-
dc.description.abstractA study of Values of “Myidu” in Lisu women: Capital Relations in Livelihood Diversification aims to: 1) study forms of livelihood of Lisu women from Ban Doi Lan who went to work outside the community after the implementation of the highland development projects; 2) Analyze forms of capitals used by Lisu women to differently diversify their livelihoods and 3) Analyze the values of working of Lisu women which potentially affected by the changing livelihood. In this study, five Lisu women from Doi Lan Village, Mae Suai District, Chiang Rai Province with diverse backgrounds of ages, education levels, and works were selected as cases of study. The study found that the implementation of the highland development projects in Ban Doi Lan played the significant roles as push and pull factors in which Lisu women used to diversify their forms of livelihoods. This leads to the reproduction of economic, social, and cultural capitals at distinct levels. In particular, the social and cultural capitals have been used by the women to diversify their livelihoods. Through interactions with people in various social institutions, women have absorbed the set of beliefs and values which leads to the emerge of patterns of behavior that are tied to various concepts of dignity. Each Lisu woman has adapted different explanations of her dignity or “Myidu” that relates to her role in a particular social space which are not necessarily attached to the traditional value or meaning. In the other hands, the concept or meaning of dignity is constantly applied to maintain women’s status in a particular social space.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleคุณค่าของ “หมิดุ” ในผู้หญิงลีซู: ความสัมพันธ์ด้านทุนในการสร้างความหลากหลายในการดำรงชีพen_US
dc.title.alternativeValues of “Myidu” in Lisu women: capital relations in livelihood diversificationen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashลีซอ-
thailis.controlvocab.thashหมิดุ-
thailis.controlvocab.thashสตรี -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashการดำเนินชีวิต-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง คุณค่าของ ‘หมิดุ’ ในผู้หญิงลีซู: ความสัมพันธ์ด้านทุนในการสร้างความหลากหลายในการดำรงชีพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการดำรงชีพของผู้ลีซูบ้านดอยล้านที่ออกไปทำงานนอกชุมชนภายหลังโครงการพัฒนาบนพื้นที่สูง 2) วิเคราะห์ประเภทของทุนที่ผู้หญิงลีซูใช้ในการเข้าถึงรูปแบบการดำรงชีพแตกต่างกัน 3) วิเคราะห์การให้คุณค่าการทำงานของผู้หญิงลีซูจากรูปแบบการดำรงชีพที่เปลี่ยนแปลงไป งานศึกษานี้เลือกศึกษาผู้หญิงลีซูจากหมู่บ้านดอยล้าน อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย จำนวน 5 ราย ซึ่งมีภูมิหลังด้านอายุ ระดับการศึกษา รูปแบบการประกอบอาชีพแตกต่างกัน จากการศึกษาพบว่า การดำเนินโครงการพัฒนาพื้นที่สูงในหมู่บ้านดอยล้านมีบทบาทในฐานะปัจจัยที่สร้างโอกาสและผลักดันให้ผู้หญิงลีซูในการสร้างความหลากหลายในการดำรงชีพ ซึ่งนำไปสู่การผลิตซ้ำทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังคม และทุนทางวัฒนธรรมในระดับแตกต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมที่ผู้หญิงใช้ในการเข้าถึงการดำรงชีพที่หลากหลายผ่านการปฏิสัมพันธ์ภายใต้สถาบันทางสังคมต่าง ๆ ส่งผลให้ผู้หญิงซึมซับความคิด ความเชื่อหลากหลายชุด อันนำไปสู่การสร้างแบบแผนพฤติกรรมที่ยึดโยงกับแนวคิดเรื่องเกียรติศักดิ์ศรีที่หลากหลาย โดยผู้หญิงลีซูแต่ละคนมีการปรับใช้คำอธิบายเกียรติศักดิ์ศรีที่มีลักษณะสัมพันธ์กับบทบาทหน้าที่ที่ผู้หญิงมีต่อคนในสังคมเฉพาะและไม่ได้ยึดโยงกับการให้คุณค่าหรือความหมายของเกียรติศักดิ์แบบเดิมของลีซู แต่มีการปรับใช้ความหมายของเกียรติศักดิ์ศรีเพื่อคงไว้ซึ่งสถานะของตนในพื้นที่ทางสังคมหนึ่ง ๆ อยู่ตลอดเวลา.en_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600431028 กฤตยาณี ตามี่.pdf1.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.