Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78797
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบัติ สกุลพรรณ์-
dc.contributor.advisorหรรษา เศรษฐบุปผา-
dc.contributor.authorเกตุษณา จันทะวงen_US
dc.date.accessioned2023-09-09T05:47:04Z-
dc.date.available2023-09-09T05:47:04Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78797-
dc.description.abstractDepression and suicide are global-vital mental health and psychiatric problems. This cross-sectional descriptive research aimed to study depression and suicide risk among adolescents of different ages in Vientiane, Lao PDR. The sample included 403 students aged 10-19 studying in grades 1-7 from December 2021 to February 2022. The research instruments were 1) A Demographic Data Record; 2) the Patient Health Questionnaire for Adolescents (PHQ-A) (Jonhson et al., 2002); and 3) the Suicide Risk Assessment Form (Kongsak et al., 2008). Descriptive data analysis was used to analyze the data. Results revealed that: 1. The samples had no depression (75.93%) and only 24.07% had depression. Those with depression reported mild and moderate depression, at 96.91% and 3.09%, respectively. 2. The samples had no suicide (96.87%) and only 1.24% had suicide risk. Those with suicide risk reported mild and moderate suicide risk, at 60.00% and 40.00%, respectively. The research results can be used as basic information for mental health promotion and psychiatric problem prevention among students. The results should be utilized as a part of the teaching and learning in Lao PDR, to raise awareness about depression and suicide risk.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleภาวะซึมเศร้า และความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายของวัยรุ่น ในนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวen_US
dc.title.alternativeDepression and suicide risk of adolescents in Vientiane, the Lao people’s democratic republicen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashความซึมเศร้า -- ลาว-
thailis.controlvocab.thashความซึมเศร้าในวัยรุ่น -- ลาว-
thailis.controlvocab.thashการฆ่าตัวตาย -- ลาว-
thailis.controlvocab.thashการฆ่าตัวตาย -- ปัจจัยเสี่ยง -- ลาว-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายเป็นปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชสำคัญที่พบได้ทั่วโลก ดังนั้นจึงมีความความจำเป็นในการศึกษาปัญหานี้ใน สปป. ลาว เพื่อนำไปสู่การจัดการที่เหมาะสม การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบตัดขวางเพื่อศึกษาภาวะซึมเศร้า และความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในวัยรุ่นซึ่งเป็นนักเรียนในเขตนครหลวงเวียงจันทน์ สปป. ลาว กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียน จำนวน 403 คน ที่มีอายุ 10-19 ปี และกําลังศึกษาอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-7 ระหว่างเดือนธันวาคม 2564 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2565 เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นของ จอห์นสัน และคณะ (2002) และ 3) แบบสอบถามความเสี่ยงในการฆ่าตัวตายของ กงศักดิ์ และคณะ (2008) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่มีภาวะซึมเศร้า คิดเป็นร้อยละ 75.93 และ มีเพียงร้อยละ 24.07 ที่มีภาวะซึมเศร้า โดยกลุ่มที่มีภาวะซึมเศร้ามีภาวะซึมเศร้าระดับเล็กน้อย และระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 96.91 และ 3.09 ตามลำดับ 2. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย คิดเป็นร้อยละ 98.76 มีเพียงร้อยละ 1.24 ที่มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย โดยกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายระดับเล็กน้อย และระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 60.00 และ 40.00 ตามลำดับ ผลการวิจัยในครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันปัญหาภาวะซึมเศร้า และความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในวัยรุ่น และใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียนใน สปป. ลาว เกิดความตระหนักเกี่ยวกับปัญหาภาวะซึมเศร้า และความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611231021-Ketsana chanthavong.pdf4.18 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.