Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78768
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิฑูร ธนบดีกิจ-
dc.contributor.advisorวรพล ยะมะกะ-
dc.contributor.authorเมธี เมธีศุภกุลen_US
dc.date.accessioned2023-09-01T12:00:38Z-
dc.date.available2023-09-01T12:00:38Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78768-
dc.description.abstractThe purposes of this research are to study the influence of financial literacy, attitude, subjective norm, and perceived behavioral control factors toward the behavioral intention of financial planning of the gen y group in Chiang Mai, and to analyze the factors affecting the choice of financial planning model of the gen y group in Chiang Mai. Survey data, using the accidental sampling method, were collected from 400 people were employed. The questionnaires were distributed online with a google form. Frequency, percentage, mean, multiple regression, and logistic regression were used in the study. The results show that gender, occupation, subjective norm, perceived behavioral control, and financial attitude affects behavioral intentions, influencing financial planning behavior. Also, the subjective norm variable has a significant impact on the choice of financial planning - this year (Short-term plan), in ten years (Mid-term plan), retirement (Long-term plan). Thus, commercial bankers, life insurancers, business employers, and related parties should plan or design financial products for Gen Y to avoid misconceptions about financial management until they can carry out such activities continuously and sustainably.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความรู้ทางการเงินกับพฤติกรรมการวางแผนทางการเงินของกลุ่มคนเจนวายในจังหวัดเชียงใหม่ : การวิเคราะห์บนพื้นฐานทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนen_US
dc.title.alternativeFinancial literacy and financial planning of GEN Y in Chiang Mai : an analysis based on the theory of planed behavioren_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการเงินส่วนบุคคล-
thailis.controlvocab.thashเจนเนอเรชันวาย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านความรู้ทางการเงิน ทัศนคติ การ คล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม โดยผ่านเจตนาความตั้งใจ ปฏิบัติพฤติกรรมการวางแผนทางการเงิน ที่มีอิทธิพลผลต่อพฤติกรรมการวางแผนทางการเงิน ของ กลุ่มคนเจนวาย ในจังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัย ที่มีผลต่อการเลือกรูปแบบการวางแผนทาง การเงิน ของกลุ่มคนเจนวาย ในจังหวัดเชียงใหม่ ใช้ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมแบบสอบถามของ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน เก็บข้อมูลด้วยวิธี Accidental Sampling method เก็บแบบออนไลน์ด้วย Google Form เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression) และการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์ (Logistic Regression) ผลการศึกษา พบว่า 1.ปัจจัยตัวแปร เพศ กลุ่มอาชีพ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง ด้านการรับรู้ความสามารถใน การ ควบคุมพฤติกรรม ด้านทัศนคติทางการเงิน ล้วนส่งผลผ่านเจตนาเชิงพฤดิกรรม ซึ่งมีอิทธิพลต่อ พฤติกรรมการวางแผนทางการเงิน และ 2.ปัจจัยตัวแปรกลุ่มบุคคลอ้างอิง นั้นมีอิทธิพลต่อการเลือก รูปแบบการวางแผนทางการเงินทั้งในช่วงในปีนี้ ในช่วง 10 ปี และเพื่อการเกษียณในอนาคต อย่างมี นัยสำคัญ นอกจากนี้ กลุ่มธนาคารพาณิชข์ กลุ่มบริษัทประกันชีวิต หรือ กลุ่มนายจ้าง และผู้ที่เกี่ยวข้อง จึงควรวางแผนหรือออกแบบผลิตภัณฑ์ ให้กับกลุ่มคน GEN Y เกี่ยวกับการวางแผนทางการเงินไม่ให้ เกิดความคิดที่ผิดๆเกี่ยวกับการบริหารการเงิน จนสามารถเลือกปฏิบัติกิจกรรมนั้นๆอย่างต่อเนื่องและ ยั่งยืนen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621632006 เมธี เมธีศุภกุล.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.