Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78754
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Sureeporn Uthaikhup | - |
dc.contributor.author | Korawat Phapatarinan | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-30T00:34:09Z | - |
dc.date.available | 2023-08-30T00:34:09Z | - |
dc.date.issued | 2023-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78754 | - |
dc.description.abstract | The neck torsion manoeuvre, stimulating the cervical receptors may be useful to determine if underlying neck pain might be causing impaired balance in elderly people. The aims of this study were to determine whether the neck torsion position substantially influences balance responses in elders with and without neck pain and to determine the relationship of postural sway and neck pain features. Participants consisted of 68 elderly people (34 with neck pain and 34 no neck pain). Balance was tested using a force plate in comfortable stance with neck neutral and torsion positions on firm and soft surfaces. Postural outcomes were anterior-posterior (AP) and medial-lateral (ML) displacements, sway area and velocity. Pain features were intensity, duration, and disability. The results demonstrated that the neck pain group exhibited increased postural sway in the torsion condition on firm and soft surfaces (most outcomes) compared to controls (p < 0.05). The neck pain group also had increased AP displacement and velocity (soft surface) and sway area (both surfaces) in the neutral condition. Increased postural sway was mostly demonstrated in the torsion condition compared to the neutral condition for both groups (p < 0.05). There were no relationships between postural sway and neck pain features. The study suggests that the neck torsion position, stimulating the cervical receptors resulted in increased postural sway (displacements, sway area and velocity) in elderly people, to a greater extent in those with neck pain. The torsion position is valuable for assessment of impaired balance related to abnormal cervical input in older adults. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Cervical afferent, balance, elderly, neck pain, postural sway | en_US |
dc.title | Effect of neck torsion on standing balance in elderly people with non-specific neck pain | en_US |
dc.title.alternative | ผลของการบิดหมุนคอต่อการทรงตัวขณะยืนในผู้สูงอายุที่มีอาการปวดคอแบบไม่ทราบสาหตุ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Neck -- Diseases | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Neck pain | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Older people | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ท่าการบิดหมุนคอซึ่งเป็นการกระตุ้นตัวรับข้อมูลบริเวณคออาจจะมีประโยชน์ในการระบุว่าอาการปวดคอเป็นสาเหตุของความบกพร่องการทรงตัวในผู้สูงอายุ วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาว่าการบิดหมุนคอส่งผลต่อการทรงตัวในผู้สูงอายุที่มีและไม่มีอาการปวดคอหรือไม่ และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการทรงตัวกับลักษณะของอาการปวดคอ ผู้เข้าร่วมการศึกษาประกอบด้วยผู้สูงอายุ จำนวน 68 คน (34 คน ปวดคอ และ 34 คน ไม่ปวดคอ) การทรงตัวถูกทดสอบโดยใช้แผ่นวัดแรงกดเท้าขณะยืนในท่าปกติและท่าบิดหมุนคอบนพื้นที่มั่นคงและพื้นนุ่ม ตัวแปรของการทรงตัว ได้แก่ การเคลื่อนที่ในทิศทางหน้า-หลังและซ้าย-ขวา พื้นที่การแกว่ง และความเร็ว ลักษณะอาการปวดคอ ได้แก่ ระดับความรุนแรง ระยะเวลา และความทุพลภาพ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มที่มีอาการปวดคอมีการแกว่งของร่างกายเพิ่มขึ้น ในเงื่อนไขท่าบิดหมุนคอบนพื้นที่มั่นคงและพื้นนุ่ม (เกือบทุกตัวแปร) เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (p < 0.05) และกลุ่มที่มีอาการปวดคอมีการเพิ่มขึ้นของเคลื่อนไหวในทิศหน้า-หลังและความเร็ว (พื้นไม่มั่นคง) และพื้นที่การแกว่ง (ทั้งสองพื้นผิว) ในเงื่อนไขท่าปกติ การเพิ่มขึ้นของการแกว่งของร่างกายส่วนมากพบในเงื่อนไขท่าบิดหมุนคอเปรียบเทียบกับเงื่อนไขท่าปกติในทั้งสองกลุ่ม (p < 0.05) ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรการทรงท่ากับลักษณะของอาการปวดคอ (p > 0.05) การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าท่าบิดหมุนคอซึ่งเป็นการกระตุ้นตัวรับข้อมูลบริเวณคอส่งผลเพิ่มการแกว่งของร่างกาย (การเคลื่อนที่ พื้นที่การแกว่ง และความเร็ว) ในผู้สูงอายุ โดยการแกว่งจะเพิ่มขึ้นมากกว่าในผู้ที่มีอาการปวดคอ การบิดหมุนคอเป็นท่าที่สำคัญสำหรับการตรวจประเมินความบกพร่องของการทรงตัวที่สัมพันธ์กับความผิดปกติของข้อมูลบริเวณคอในผู้สูงอายุ | en_US |
Appears in Collections: | AMS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
641131008-KORAWAT PHAPATARINAN.pdf | 2.26 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.