Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78752
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKwanchewan Buadaeng-
dc.contributor.authorSujinda Kamjornen_US
dc.date.accessioned2023-08-29T13:45:29Z-
dc.date.available2023-08-29T13:45:29Z-
dc.date.issued2022-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78752-
dc.description.abstractThe objectives of this thesis are to investigate (1) the zakat fund management of the Chiang Mai Central Zakat Fund in the present, (2) the types of exchange between zakat donors and recipients in urban Chiang Mai Muslim communities, and (3) the differences in zakat administration between the Chiang Mai Central Zakat Fund and the Council of Chiang Mai Muslim Women. I used a qualitative research methodology for this research. Besides documentary research, I interviewed the Chiang Mai Central Zakat Fund Committee, zakat donors, zakat recipients, and the Council of Chiang Mai Muslim Women. I also applied the participant observation method by participating in the zakat charity day in AH 1442, zakat distributions, and meetings with the Chiang Mai Central Zakat Fund Committee. This thesis has two main findings. First, the Chiang Mai Central Zakat Fund today administrates the zakat fund in modern ways, as illustrated by its, organizational structure, the systematic process of selection, distribution, and follow-up of zakat recipients. The administration of the zakat fund also shows the cooperation between the state and Islamic organizations because the Chiang Mai Central Zakat Fund is a division of the Chiang Mai Provincial Islamic Council.Second, I found out that the exchange between zakat donors and recipients in urban Chiang Mai Muslim communities can be classified into two types: (1) generalized reciprocity, which shows the act of giving without expecting anything in return as it is regulated by Islamic principles to reinforce relationships among Muslims and between Muslims and God. In this way, community sharing indicates zakat distribution by the Chiang Mai Central Zakat Fund Committee crosses the Muslim community boundary, which includes all mosques in Chiang Mai and Lamphun; (2) discriminated reciprocity which involves authority differentiation and bureaucracy. It is clear that only Muslims with Thai identification card can access the fund as regulated by the Thai authority. To sum up, the Chiang Mai Central Zakat Fund manages zakat differently from direct donations and donations to other Muslim organizations, such as the Council of Chiang Mai Muslim Women. Chiang Mai Central Zakat Fund has developed formal and modern organizational structures and procedures. The target groups are broader and across ethnic communities not specific like those of other Muslim organizations. More importantly, it is under the Provincial Islamic Committee, which is regulated by the state, thus making zakat not only a religious matter but also a state-related matter.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleZakat fund management and exchange in muslim communities of Urban Chiang Maien_US
dc.title.alternativeการจัดการกองทุนและการแลกเปลี่ยนซะกาตในชุมชนมุสลิมเมืองเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshMuslims-
thailis.controlvocab.lcshSociology-
thailis.controlvocab.lcshAnthropology-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง (1) การจัดการกองทุนซะกาตของกองทุน ซะกาตกลาง จังหวัดเชียงใหม่ (2) รูปแบบของการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ให้และผู้รับซะกาตในชุมชน มุสลิมเมืองเชียงใหม่ และ (3) ความแตกต่างในการบริหารจัดการซะกาตระหว่างกองทุนซะกาตกลาง จังหวัดเชียงใหม่และสภาสตรีมุสลิมเชียงใหม่ ผู้เขียนใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย การวิจัยเอกสาร การสัมภาษณ์คณะกรรมการกองทุนซะกาตกลาง จังหวัดเชียงใหม่ ผู้ให้ และผู้รับซะกาต รวมทั้งสภาสตรีมุสลิมเชียงใหม่ ตลอดจนได้ใช้การสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วมใน กิจกรรมวันคืนสิทธิ์ ประจำปี ฮ.ศ. 1442 การแจกจ่ายซะกาต และการประชุมร่วมกับคณะกรรมการ กองทุนซะกาตกลาง จังหวัดเชียงใหม่ ข้อค้นพบหลักของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มี 2 ประเด็น ได้แก่ ประเด็นแรก กองทุนซะกาตกลาง จังหวัดเชียงใหม่จัดการกองทุนซะกาตแบบสมัยใหม่ โดยมีการจัดโครงสร้างองค์กร กระบวนการ คัดเลือกที่เป็นระบบ การแจกจ่าย และการติดตามผู้รับซะกาต ทั้งนี้การบริหารจัดการกองทุนซะกาตยัง สะท้อนให้เห็นถึงความร่วมมือระหว่างรัฐและองค์กรทางศาสนาอิสลามด้วย เนื่องจากกองทุนซะกาต เป็นส่วนหนึ่งของคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดเชียงใหม่ ประเด็นที่ 2 พบว่า การแลกเปลี่ยน ระหว่างผู้ให้และผู้รับซะกาตในชุมชนมุสลิมเมืองเชียงใหม่สามารถจำแนกได้เป็น 2 รูปแบบ คือ (I) การแลกเปลี่ยนโดยไม่หวังผลตอบแทน เป็นการให้ที่ไม่ได้คาดหวังว่าจะได้รับการตอบแทนกลับคืน มา ซึ่งถูกควบคุมกำกับโดยหลักการทางศาสนาอิสลาม ทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่เน้นแฟันระหว่างชาว มุสลิมด้วยกันเอง และความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้ากับชาวมุสลิม ในแง่นี้ การแบ่งปันภายในชุมชน แสดงให้เห็นว่าการแจกจ่ายซะกาตของคณะกรรมการกองทุนซะกาตกลาง จังหวัดเชียงใหม่นั้นไม่ได้จำกัดอยู่ในกลุ่มมุสลิมชาติพันธุ์ใดชาติพันธุ์หนึ่ง แต่แจกจ่ายให้กับทุกมัสยิดทั้งในจังหวัดเชียงใหม่ และลำพูน (2) การแลกเปลี่ยนโดยหวังผลตอบแทนอย่างไม่โจ่งแจ้ง ซึ่งเกี่ยวข้องกับความแตกต่างทาง อำนาจและสถานภาพ รวมทั้งการจัดการองค์กรแบบระบบราชการ กล่าวคือ เฉพาะชาวมุสลิมที่มีบัตร ประจำตัวประชาชนไทยเท่านั้นที่สามารถเข้าถึงกองทุนซะกาตนี้ได้ อันเป็นกองทุนที่อยู่ภายใต้การ ควบคุมกำกับของรัฐ ไทย กล่าวโดยสรุป กองทุนซะกาตกลาง จังหวัดเชียงใหม่ จัดการซะกาตแตกต่าง จากการบริจาคซะกาตโดยตรงและการบริจาคผ่านองค์กรมุสลิมอื่น ๆ เช่น สภาสตรีมุสลิมเชียงใหม่ เป็นต้น โดยกองทุนซะกาตกลาง จังหวัดเชียงใหม่ได้พัฒนาโครงสร้างองค์กรสมัยใหม่และขั้นตอน การดำเนินงานที่เป็นทางการ และขยายขอบเขตของกลุ่มเป้าหมายข้ามชุมชนทางชาติพันธุ์ นอกจากนี้ ภายใต้การดำเนินงานของคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดเชียงใหม่ที่ถูกควบคุมกำกับโดยรัฐนั้น ได้แสดงให้เห็นว่าซะกาตไม่ได้จำกัดอยู่ในมิติทางศาสนาเท่านั้น แต่ยังมีความเชื่อมโยงกับรัฐด้วยen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620431003 สุจินดา คำจร.pdf4.31 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.