Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78727
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุลักษณ์ สุมิตสวรรค์-
dc.contributor.authorนพัฐกรณ์ จุ้ยนวนen_US
dc.date.accessioned2023-08-27T09:46:53Z-
dc.date.available2023-08-27T09:46:53Z-
dc.date.issued2021-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78727-
dc.description.abstractEstimations of Volatile Organic Compounds Emissions from Loading Fuel Truck with Top and Bottom Loading Systems. This is a study of Volatile Organic Compounds (VOCs) emissions comparing between VOCs emissions from fuel truck top loading in 2019 and VOCs emissions from fuel truck bottom loading in 2020. Use information for assemble the calculation from 4 sources of volatile organic compound emissions namely 1 Fugitives 2 External Combustion and Internal Combustion Engine 3 Truck Loading 4 Fuel oil TANK (fixed cone-roof tank and internal floating- roof tank) and measurement the amount of VOCs emitted from the Vapor Recovery Unit chimney by air sampling and analyzation by Gas Chromatography-Flame Ionization Detector. The result of study that is VOCs emissions from fuel truck top loading in 2019 is 1,144,219,90 kg VOCs/year, VOCs emissions from fuel truck bottom loading in 2020 is 276,654.74 kg VOCs/year accounted for a decrease in the amount of volatile organic compounds emissions 75.82%. Emission rate of VOCs per liter from fuel truck top loading in 2019 is 1.1097 g VOCs/Liter Fuel, from fuel truck bottom loading in 2020 is 0.2509 g VOCs/Liter Fuel. Decreased of VOCs emissions rate per liter 77.39%. Amount of VOCs emitted from the Vapor Recovery Unit chimney from fuel truck bottom loading 2020 2 times, First in June 2020 is 0.310 mg (VOCs)/Liter and second in November 2020 is 1.187 mg(VOCs)/Liter. It can be concluded that fuel truck bottom loading can reduce the Volatile Organic Compounds Emissions more than fuel truck top loading.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประมาณการปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่ายจากการจ่ายน้ำมันให้กับรถขนส่งน้ำมันชนิดที่มีการจ่ายน้ำมันเหนือถังและใต้ถังen_US
dc.title.alternativeEstimations of volatile organic compounds emissions from top loading and bottom loading fuel truck systemsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม-
thailis.controlvocab.thashอินทรียเคมี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาการปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่ายจากการจ่ายน้ำมันให้กับรถขนส่งน้ำมันชนิดที่มีการ จ่ายน้ำมันเหนือถังและใต้ถัง เป็นการศึกษาปริมาณการปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่ายเปรียบเทียบระหว่าง การปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่ายจากการจ่ายน้ำมันแบบ Top Load ในปี พ.ศ. 2562 และการปล่อย สารอินทรีย์ระเหยง่ายจากการจ่ายน้ำมันแบบ Bottom Load ในปี พ.ศ. 2563 ใช้ข้อมูลต่าง ๆ ประกอบ การคำนวณ แยกตามแหล่งที่ก่อให้เกิดการปลดปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่าย 4 แหล่ง ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1 Fugitives คือ การคำนวณการปลดปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่ายจากการรั่วระเหยของอุปกรณ์ 2 Combustion คือการคำนวณการปลดปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่ายจากการเผาใหม้ ที่เกิดจากอัตราการใช้เชื้อเพลิง ภายในพื้นที่ ทั้งชนิด External Combustion และ Internal Combustion Engine 3 Truck Loading คือ การคำนวณการปลดปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่ายที่มาจากการรั่วระเหยจากการเดิมสารอินทรีย์ระเหยง่าย ลงในรถขนส่ง 4 TANK คือการคำนวณการปลดปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่ายที่ปล่อยออกจากถังเก็บ สารเคมีทั้งแบบ fixed cone-roof tank และแบบ Internal foating-roof tank และทำการตรวจวัดปริมาณ สารอินทรีย์ระเหยง่ายที่ระบายออกจากปล่อง Vapor Recovery Unit ด้วยการเก็บตัวอย่างอากาสและวิเคราะห์ โดยวิธี Gas Chromatography-Flame Ionization Detector ผลการศึกษาพบว่า ปริมาณการปล่อยสารอินทรีย์ ระเหยง่ายจากการจ่ายน้ำมันแบบ Top Load ในปี 2562 มีค่า 1,144,219.90 kg VOCs/year ปริมาณการปล่อย สารอินทรีย์ระเหยง่ายจากการจ่ายน้ำมันแบบ Bottom Load ในปี 2563 มีค่า 276,654.74 kg VOCs/year คิดเป็นสัดส่วนปริมาณการปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่ายลดลง ร้อยละ 75.82 อัตราการปล่อยสารอินทรีย์ ระเหยง่ายต่อลิตร จากการจ่ายน้ำมันแบบ Top Load ในปี 2562 มีค่า 1.1097 g VOCs/Liter Fuel ปริมาณ การปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่ายต่อลิตร จากการจ่ายนำมันแบบ Bottom Load ในปี 2563 มีค่า 0.2509 g VOCs/Liter Fuel คิดเป็นสัดส่วนปริมาณการปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่ายต่อลิตรลดลง ร้อยละ 77.39 และมีปริมาณสารอินทรีย์ระเหยง่ายที่ระบายออกจากปล่อง Vapor Recovery Unit ที่ทำการตรวจวัดจาก การจ่ายน้ำมันแบบ Bottom Load จำนวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 เดือนมิถุนายน 2563 ครั้งที่ 2 เดือนพฤศจิกายน 2563 มีค่า 0.310 mg(VOCs) Liter และ 1.187 mg(VOCs)Liter ตามลำดับ สรุปได้ว่า การจ่ายน้ำมัน แบบ Bottom Load สามารถลดอัตราการปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่ายลงได้มากกว่าการจ่ายน้ำมันแบบ Top Loaden_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620632049 นพัฐกรณ์ จุ้ยนวน.pdf4.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.