Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78702
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวิศ บุญมี-
dc.contributor.authorวิภาดา ธรรมตระกูลen_US
dc.date.accessioned2023-08-25T00:50:09Z-
dc.date.available2023-08-25T00:50:09Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78702-
dc.description.abstractThe demand for healthcare services is increasing dramatically every year, according to the Ministry of Public Health's database. Both the public and private sectors are interested in coping with the situation, as well as the case study hospital. Because of the high volume of patients, the outpatient medicine department was chosen. Endocrinology, Cardiac, Pulmonology, Nephrology, and Neurology were chosen as the top five categories of patient disease to be studied since they accounted for 80 percent of all outpatients in the medical department. Many researchers tried to improve the healthcare service by using many tools and techniques to meet a variety of goals. But one of the most used indicators is time spent in the system. They aim to eliminate non-valued time to reduce overall time use as well as with this study. Based on observing and discussing with the authorities, there were three parts that affected the average patient’s time: the characteristics of the patient, such as the patient’s arrival and illness; the process and resource readiness; and other factors that may influence the time used significantly. Five factors were considered in this study: the pattern of patient arrival, adding physicians' resources at bottlenecks, the 30-minute delay in starting time in each shift of physician, 20% of patient's blood sample taken before appointment, and changing portion of patient's illness categories based on cause of outpatient illness data. A simulation computer software was chosen because of its ability to contract and modify the model elements to be reassembled with the actual system depending on statistics, allowing all factors to be studied at the same time without disrupting normal operations. The second tool is design of experiment, which is an approach used to examine the influence and correlation of factors to response. In this study, a full factorial with two levels was used to test five factors. By designating the lower level as regular practice and the upper level as altered practice. The simulation model of 32 scenarios according to all possible factors adjusted alternatives were ran. All findings undergo analysis of variance (ANOVA), and it is discovered that each of the five factors has a significant effect on the response, with some even exhibiting interaction effects. Response Optimizer was used to determine the best answer. It concluded that three factors should be adjusted at a higher level, implying that some of the morning's appointments should be moved to the afternoon, adding more physicians at bottlenecks could relieve stress and advance blood tested is effective to reduce overall time spent. However, two factors must be maintained: there should be no delay in beginning time, and the present patient percentage results in shorter patient time spent in system at 139.13 minutes compared to 155.39 minutes in the original. Based on the factors examined, three additional experiments were carried out. The appointment table was evaluated based on the physician's capability; 16.09 minutes were removed. In the second examination, 20, 25, 30, 35, and 40 percent of patients had their blood checked before their appointment. For every 5 percent of blood obtained, the overall time decreases by roughly 2 minutes. Lastly, in the third experiment, the sensitivity of patients' average time was assessed after adding 20 percent of patients for each type of illness. According to the findings, there is a considerable increase in overall time spent, increasing by 14.61 minutes and 5.85 minutes if the number of endocrinology and neurology patients rose by 20 percent. This suggests that the two categories require special attention because they both have an impact on the overall. To follow the addition examinations which recommended to adjust appointment table, encouraging partially patient to get blood check in advance and keep monitoring number of patient especially in endocrinology and neurology categories. However, before implying the suggestion in actual situation the review from authorize should conduct in order to improve current practice and higher patient’s satisfaction.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectleanen_US
dc.subjecthealthcareen_US
dc.subjectsimulationen_US
dc.subjectarenaen_US
dc.subjectDesign of experimenten_US
dc.titleการพัฒนาแนวปฏิบัติเพื่อลดเวลารวมของผู้ป่วยนอกของแผนกอายุรกรรมในโรงพยาบาลด้วยการจำลองสถานการณ์แบบไม่ต่อเนื่องและการออกแบบการทดลองen_US
dc.title.alternativeDevelopment of guidelines to reduce outpatient’s total time of department of medicine in hospital with discrete events simulation and design of experimenten_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการออกแบบการทดลอง-
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วยนอก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความต้องการเข้าถึงการบริการทางด้านสุขภาพมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นในทุกๆ ปีตามข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข ผู้ให้บริการทั้งภาครัฐและเอกชนต่างก็ให้ความสนใจ และต้องการตอบสนองความต้องการในส่วนนี้ เช่นเดียวกันกับโรงพยาบาลกรณีศึกษานี้ ซึ่งขอบเขตของการศึกษานี้จะทำการศึกษาผู้ป่วยนอกของแผนกอายุรกรรม เนื่องจากเป็นประเภทผู้ป่วยส่วนใหญ่ และเป็นแผนกที่มีความหนาแน่นมากที่สุด โดยจะเลือกทำการศึกษาผู้ป่วยทั้งหมด 5 ประเภทการป่วย ได้แก่ ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบหายใจ ระบบสืบพันธุ์หรือโรคไต และระบบประสาทและสมอง ซึ่งผู้ป่วย 5 ประเภทนี้คิดเป็นร้อยละ 80 ของผู้ป่วยทั้งหมด การศึกษาเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพสถานพยาบาลนั้นได้รับความสนใจอย่างมากมีงานวิจัยหลากหลายทำการศึกษาการให้บริการทางการแพทย์ในมิติต่างๆ มีการใช้เครื่องมือแตกต่างกันไป โดยตัวชี้วัดที่เป็นที่นิยม และเป็นบ่งบอกได้ถึงคุณภาพของการบริการ นั่นก็คือ เวลาที่ผู้ใช้บริการใช้ งานวิจัยส่วนใหญ่จึงต้องการลดเวลาส่วนที่ไม่มีคุณค่าออกให้ได้มากที่สุด เช่นเดียวกันกับงานวิจัยนี้ โดยจากการสังเกตการณ์ และปรึกษากับผู้เกี่ยวข้องแล้วมี 3 ส่วนใหญ่ ได้แก่ ตัวผู้ป่วยเองทั้งเวลาในการเข้าใช้บริการ และประเภทของการป่วย ความเพียงพอและความพร้อมของกระบวนการและทรัพยากร ปัจจัยอื่นที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต งานวิจัยนี้จะทำการศึกษาทั้งหมด 5 ส่วน ได้แก่ รูปแบบการเข้าสู่ระบบของผู้ป่วยในช่วงเวลาเช้าหรือบ่าย จำนวนทรัพยากรแพทย์ทที่จุดคอขวด ความล่าช้า 30 นาทีจากความไม่พร้อมในการเริ่มรักษาเมื่อเริ่มกะ การสนับสนุนให้ผู้ป่วยร้อยละ 20 เจาะเลือดก่อนวันนัดหมาย และการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนของผู้ป่วยแต่ละประเภทอ้างอิงแนวโน้มสาเหตุการป่วยของผู้ป่วยนอก ในจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อศึกษาปัจจัยทั้งหมดพร้อมกัน โดยไม่รบกวนการดำเนินการปัจจุบัน เครื่องมือการออกแบบการทดลอง และการจำลองสถานการณ์ถูกเลือกนำมาใช้ เนื่องจากสามารถสร้างแบบจำลองสถานการณ์นั้นสามารถปรับเปลี่ยนองค์ประกอบต่างๆได้ โดยใช้ข้อมูลทางสถิติ และการใช้การออกแบบการทดลองก็เพื่อที่จะสามารถศึกษาปัจจัยหลายปัจจัย พร้อมๆกันได้ เพื่อหาสัมพันธ์ของปัจจัยและผลตอบ และระหว่างปัจจัยกันเองด้วย การออกแบบการทดลองแบบแฟกทอเรียลเต็มรูป 5 ปัจจัย แบบ 2 ระดับจึงถูกนำมาใช้ โดยทำการตั้งระดับที่แตกต่างกัน ให้ระดับต่ำ คือสภาพปัจจุบัน และระดับสูง คือการปรับเปลี่ยนที่สนใจว่าจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อผลตอบ ซึ่งก็คือ เวลารวมเฉลี่ยของผู้ป่วย ผลที่ได้ออกมาจากการประมวลผลผ่านโปรแกรมจำลองสถานการณ์ และการปรับปัจจัยตามเงื่อนไขการทดลอง 32 เงื่อนไข ทำการวิเคราะห์ความแปรปรวน(ANOVA) พบว่าทุกปัจจัยหลักมีผลต่อผลตอบทั้งหมด และยังมีปัจจัยที่มีผลร่วมกันอีกด้วย เพื่อให้ได้คำตอบที่ดีทีสุด เครื่องมือ Response Optimizer ได้ถูกนำมาใช้ โดยแสดงให้เห็นว่าควรมีการปรับนัดหมายผู้ป่วยจากช่วงเช้าเป็นช่วงบ่าย เพิ่มแพทย์ในจุดคอขวด ควรสนับสนุนให้แพทย์สามารเริ่มทำการรักษาได้ทันทีที่เริ่มกะ ควรสนับสนุนให้ผู้ป่วยร้อยละ 20 เจาะเลือดก่อนวันนัดหมาย และควรมีแผนรองรับหากมีการเปลี่ยนแปลงจำนวนของผู้ป่วยแต่ละประเภทเนื่องจากส่งผลให้เวลารวม โดยสามารถลดเวลาได้จาก 155.39 นาที เหลือ 139.13นาที โดยสามารถลดเวลารอคอยไปได้ 16.26 นาที อย่างไรก็ตามการศึกษานี้เป็นเพียงการศึกษาเพื่อหาว่าปัจจัยที่สนใจมีผลต่อผลตอบ ผู้วิจัยจึงได้ทำการทดสอบเพิ่มเติมอีก 3 ประเด็น ได้แก่ การจัดตารางผู้ป่วยเข้าสู่ระบบ โดยพิจารณาจากความสามารถของแพทย์ช่วยลดเวลาไปได้ 16.09 นาที การศึกษาเพิ่มเติมที่สองการสนับสนุนผู้ป่วยเจาะเลือดในอัตราร้อยละ 20 25 30 35 และ 40 ผลที่ได้คือ ทุกๆร้อยละ 5 ของผู้ป่วยที่ส่งตัวอย่างเลือดก่อน เวลาเฉลี่ยรวมจะลดลง 2 นาที และประเด็นสุดท้ายที่ศึกษาเพิ่มเติมคือ การทดสอบความอ่อนไหวต่อการเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยแต่ละประเภทร้อยละ 20 ผลที่ได้คือการเพิ่มผู้ป่วยระบบต่อมไร้ท่อร้อยละ 20 จะทำให้เวลารวมเพิ่ม 14.61นาที และ5.85 นาทีสำหรับระบบประสาทและสมอง ผู้วิจัยจึงแนะนำให้ผู้เกี่ยวข้องให้ความสนใจเกี่ยวกับจำนวนผู้ป่วยสองระบบนี้ เนื่องจากส่งผลค่อนข้างมากในองค์รวม การนำแนวทางในการทดลองเพิ่มเติมทั้งสามคือ จัดตารางนัดหมายตามความสามารถรองรับได้ สนับสนุนการส่งตัวอย่างเลือดก่อนวันนัด และเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยสองกลุ่มดังกล่าวไปแล้วเป็นแนวทางที่เหมาะสม อย่างไรก็ตาม การนำแนวทางที่แนะนำไปปรับใช้ควรได้รับการพิจารณาจากผู้บริหาร และผู้เกี่ยวข้องเพื่อปรับปรุงการทำงานปัจจุบันและยกระดับความพึงพอใจสูงสุดของผู้ใช้บริการ หรือผู้ป่วยนั่นเองen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630631055-วิภาดา ธรรมตระกูล.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.