Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78698
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรอุมา เรืองวงษ์-
dc.contributor.authorสุดารัตน์ จีโนen_US
dc.date.accessioned2023-08-24T01:11:21Z-
dc.date.available2023-08-24T01:11:21Z-
dc.date.issued2023-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78698-
dc.description.abstractFusarium wilt of chrysanthemum, caused by Fusarium spp., is a major disease causing severe damage to commercial chrysanthemums worldwide. The survey and sample collection found that 6 isolates of fungi were isolated including isolate CCR-01, CCR-02, CCR-03, CL-04, CL-05 and CL-06. The diseased sample was collected from Huay Nam Rin Royal Project Development Center. Fusarium oxysporum isolate COSP01 is the causal agent of chrysanthemum wilt, previously isolated from chrysanthemum which cultivated at Huay Luk Royal Project Development Center. Pathogenicity test on chrysanthemum of 7 fungal isolates, the isolate CCR-02 and F. oxysporum isolate COSP01 caused the most disease severity at 80.03 and 80.00 %, respectively. Afterward, the isolate CCR-02 was identified based on morphological characteristics, and molecular study of multiple DNA sequience of ITS and LSU, ITS with primer ITS1 and ITS4, and LSU-F and LSU-R, respectively. The result showed that isolate CCR-02 was identified as Fusarium equiseti (GenBank accession nos. OP247660 and OP247680). Efficiency of Bacillus subtilis S93 and Bacillus siamensis RFCD306 for in vitro inhibiting of F. equiseti CCR-02 and F. oxysporum COSP01 causing chrysanthemum wilt disease using dual culture method was investigated. The result showed that at 7 days of incubation of B. subtilis S93 and B. siamensis RFCD306 on PDA before challenged with F. equiseti CCR-02 showed the highest of percentage inhibition with 78.56 and 78.07 %, respectively. While, at 5 days of incubation antagonistic bacteria showed the highest inhibitory effect to F. oxysporum COSP01 with 71.25 and 73.75 %, respectively. Inhibition of fungal spore germination by cell-free culture filtrated (CF) of antagonistic bacteria (cultured in four liquid media including 3% TSB, TSB, MRS and AM2ab) was conducted by slide culture method. The results showed that after 4 hours of incubation, CF from B. siamensis RFCD306 in AM2ab broth had the highest inhibition of the spore germination up to 99.00 %. Moreover, the CF caused malformation and swelling germ tube, swollen mycelium of fungal pathogen. Besides, the fungal spore treated in CF from B. siamensis RFCD306 in AM2ab broth was tested for pathogenicity. The result showed that spore in CF of B. siamensis RFCD306 could reduce the severity of fungal the pathogen as 42.69 and 51.02 %, respectively. Greenhouse experiment was evaluated for ability of B. subtilis S93 and B. siamensis RFCD306 to control chrysanthemum wilt disease. The result showed that B. subtilis S93 could control wilt disease caused by F. equiseti CCR-02 and F. oxysporum COSP01 with 50.00 and 54.77 %, respectively. While, B. siamensis RFCD306 could control wilt disease with 60.81 and 65.37 %, respectively. For growth promotion efficiency, it was found that chrysanthemum plants treated with B. subtilis S93 and B. siamensis RFCD306 significantly increased height, fresh weight and root length of chrysanthemum plants. It is statistically significant compared to the control set at 95% confidence level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแบคทีเรียปฏิปักษ์en_US
dc.subjectการควบคุมโดยชีววิธีen_US
dc.subjectเชื้อราสาเหตุโรคพืชen_US
dc.subjectการยับยั้งการงอกของสปอร์en_US
dc.subjectการจำแนกชนิดเชื้อราen_US
dc.subjectBiological controlen_US
dc.subjectChrysanthemumen_US
dc.subjectFusarium equisetien_US
dc.subjectBacillus subtilis S93en_US
dc.subjectBacillus siamensis RFCD306en_US
dc.titleประสิทธิภาพของ Bacillus subtilis S93 และ Bacillus siamensis RFCD306 ในการควบคุม โรคเหี่ยวฟิวซาเรียมของเบญจมาศen_US
dc.title.alternativeEfficiency of bacillus subtilis S93 and bacillus siamensis RFCD306 to control fusarium wilt disease in Chrysanthemumen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเบญจมาศ -- โรคและศัตรูพืช-
thailis.controlvocab.thashโรคเหี่ยว-
thailis.controlvocab.thashโรคพืช-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคเหี่ยวเบญจมาศ (Fusarium wilt) เกิดจากเชื้อรา Fusarium spp. เป็นโรคที่สร้างความเสียหายให้กับดอกเบญจมาศในเชิงการค้าทั่วโลก จากการสำรวจและเก็บตัวอย่าง สามารถแยกเชื้อราสาเหตุโรคเหี่ยวเบญจมาศได้ 6 ไอโซเลท ได้แก่ CCR-01, CCR-02, CCR-03, CL-04, CL-05 และ CL-06 เชื้อสาเหตุโรค ได้ตัวอย่างที่เก็บมาจากพื้นที่ปลูกเบญจมาศในศูนย์พัฒนาโครงการหลวง ห้วยน้ำริน จังหวัดเชียงราย และตัวอย่างเชื้อรา Fusarium oxysporum ไอโซเลท COSP01 สาเหตุโรคเหี่ยวของเบญจมาศ ที่แยกไว้ก่อนหน้านี้ จากตัวอย่างที่เก็บมาจากพื้นที่ปลูกเบญจมาศในโครงการหลวงห้วยลึก จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อนำเชื้อราทั้ง 7 ไอโซเลท มาทดสอบความสามารถในการเกิดโรค พบว่าเชื้อราไอโซเลท CCR-02 และ F. oxysporum ไอโซเลท COSP01 มีความรุนแรงมากที่สุดมีค่าเท่ากับ 80.03 และ 80.00 % ตามลำดับ จึงนำไอโซเลท CCR-02 มาจัดจำแนกตามลักษณะสัณฐานวิทยาเบื้องต้น และวิเคราะห์ลำดับนิวคลิโอไทด์ ของยีน ITS ด้วยไพรเมอร์ ITS1/ITS4 และ LSU ด้วย ไพรเมอร์ LSU-F/LSU-R และวิเคราะห์สายสัมพันธ์ทางพันธุกรรม สามารถระบุได้ว่าเชื้อราไอโซเลท CCR-02 คือ เชื้อรา Fusarium equiseti (GenBank accession no. OP247660 and OP247680) การศึกษาประสิทธิภาพของแบคทีเรีย Bacillus subtilis S93 และ Bacillus siamensis RFCD306 ต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา F. equiseti CCR-02 และ F. oxysporum COSP01 ในห้องปฏิบัติการ ด้วยวิธี dual culture พบว่า B. subtilis S93 และ B. siamensis RFCD306 สามารถยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อรา F. equiseti CCR-02 ได้ โดยหลังจากการเพาะเลี้ยงแบคทีเรียปฏิปักษ์นาน 7 วัน บนอาหาร PDA ก่อนนำเชื้อรามาทดสอบ พบว่า มีเปอร์เซ็นต์การยับยั้ง โดย B. subtilis S93 และ B. siamensis RFCD306 เท่ากับ 78.56 และ 78.07 % ตามลำดับ ส่วน F. oxysporum COSP01 พบว่า การเพาะเลี้ยงแบคทีเรียปฏิปักษ์นาน 5 วัน บน PDA มีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งโดย B. subtilis S93 และ B. siamensis RFCD306 เท่ากับ 71.25 และ 73.75 % ตามลำดับ การทดสอบการงอกของสปอร์เชื้อราโดยใช้ cell-free culture filtrate (CF) ของแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่เลี้ยงในอาหารเหลว 4 ชนิด ได้แก่ TSB, 3% TSB, MRS และ AM2ab บน slide culture หลังจากบ่มเป็นเวลา 4 ชั่วโมง พบว่า CF จาก B. siamensis RFCD306 ที่เลี้ยงในอาหาร AM2ab สามารถยับยั้งการงอกของสปอร์เชื้อราได้สูงสุดเท่ากับ 99.00 % นอกจากนี้ CF ทำให้สปอร์เชื้อรามีความผิดปกติ โดย germ tube มีลักษณะบวมพอง และเส้นใยเชื้อรามีลักษณะบวมพองเช่นกัน และเมื่อนำสปอร์ที่แช่ด้วย CF ของ B. siamensis RFCD306 ที่เลี้ยงในอาหาร AM2ab มาทดสอบความสามารถในการเกิดโรค พบว่า มีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งการเกิดโรค เท่ากับ 42.69 และ 51.02 % ตามลำดับ การทดสอบประสิทธิภาพของ B. subtilis S93 และ B. siamensis RFCD306 ในการควบคุมโรคเหี่ยวของเบญจมาศ ในสภาพโรงเรือน พบว่า B. subtilis S93 สามารถควบคุมการเกิดโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อรา F. equiseti CCR-02 และ F. oxysporum COSP01 ได้เท่ากับ 50.00 และ 54.77 % ตามลำดับ ในขณะที่ B. siamensis RFCD306 สามารถควบคุมการเกิดโรคเหี่ยวได้เท่ากับ 60.81 และ 65.37 % ตามลำดับ สำหรับประสิทธิภาพในการส่งเสริมการเจริญเติบโต พบว่า ต้นเบญจมาศที่ราดด้วย B. subtilis S93 และ B. siamensis RFCD306 ทำให้ความสูง น้ำหนักสด และความยาวรากของต้นเบญจมาศเพิ่มมากขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%en_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630831062- สุดารัตน์ จีโน.pdf6.94 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.