Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78685
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรอุมา เรืองวงษ์-
dc.contributor.authorชิษณุพงศ์ เพชรพรรณen_US
dc.date.accessioned2023-08-22T01:28:53Z-
dc.date.available2023-08-22T01:28:53Z-
dc.date.issued2023-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78685-
dc.description.abstractThe objectives of this studied were to identify the Lasiodiplodia theobromae causal pathogen of strawberry dieback disease and evaluated the biological control efficiency of four antagonistic bacteria consisting of Bacillus subtilis S93, B. siamensis RFCD306, B. velezensis NK-CSL02 and B. amyloliquefaciens PD-VVL01 under in vitro and in vivo conditions. A total of three fungal isolates from infected tissues by tissue transplanting method. The result after 7 days of inoculation, all isolates caused dieback. All inoculated strawberry showed wilt symptom on the shoot followed by black necrotic leaves. Rot symptom was observed on the root and crown then the crown became brown to black color. Fungal pathogen was identified based on morphological characteristics and analysis of the internal transcribed spacer (ITS) and large subunit of the nuclear ribosomal RNA (LSU) sequences and constructed the phylogenetic tree. Three fungal isolates were identified as Lasiodiplodia theobromae. Evaluation of the biological control efficiency of antagonistic bacteria to inhibit mycelium growth of L. theobromae isolate LSS-1, LSR-2 and LSC-3 was conducted by dual technique on PDA. The result showed that B. subtilis S93, B. siamensis RFCD306, B. amyloliquefaciens PD-VVL01 and B. velenzensis NK-CSL02 inhibited mycelial growth with percentage of inhibition ranging from 82.07%-100.00%. The inhibition of spore germination by slide culture technique showed that all antagonistic bacteria inhibited spore germination ranging from 64.00-89.34%. In addition, the microscopic observation revealed the morphology change of hyphal and spore structure of L. theobromae with abnormal growth and swelling. The efficacy of B. subtilis S93 to control strawberry dieback disease inoculated by L. theobromae isolate LSS-1 was evaluated under greenhouse condition. The result showed that spraying with B. subtilis S93 for 3 days before fungal inoculation had the best control efficacy with 78.33%.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแบคทีเรียปฏิปักษ์en_US
dc.subjectการควบคุมโดยชีววิธีen_US
dc.subjectการงอกของสปอร์en_US
dc.subjectเชื้อราสาเหตุโรคพืชen_US
dc.subjectการจำแนกเชื้อราen_US
dc.subjectAntagonistic bacteriaen_US
dc.subjectbiological controlen_US
dc.subjectspore germinationen_US
dc.subjectfungal plant pathogenicen_US
dc.subjectfungal identificationen_US
dc.titleการควบคุมโรค Dieback ของสตรอว์เบอร์รีที่เกิดจาก Lasiodiplodia theorbomae โดยการใช้ Bacillus spp.en_US
dc.title.alternativeControl of strawberry dieback disease caused by Lasiodiplodia theobromae using Bacillus spp.en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashสตรอว์เบอร์รี -- โรคและศัตรูพืช-
thailis.controlvocab.thashโรคพืช-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุชนิดของเชื้อรา Lasiodiplodia theobromae สาเหตุโรค dieback ของสตรอว์เบอร์รี และทดสอบประสิทธิภาพของแบคทีเรียปฏิปักษ์จำนวน 4 ไอโซเลท ได้แก่ Bacillus subtilis S93, B. siamensis RFCD306, B. velezensis NK-CSL02 และ B. amyloliquefaciens PD-VVL01 ในการควบคุมโรค dieback ของสตรอว์เบอร์รีที่ทดสอบในห้องปฏิบัติการ และโรงเรือน จากการแยกเชื้อสาเหตุโดยวิธี tissue transplanting สามารถแยกเชื้อราได้ทั้งหมด 3 ไอโซเลท ได้แก่ LSS-1, LSR-2 และ LSC-3 การทดสอบความสามารถในการก่อโรค พบว่าทั้ง 3 ไอโซเลท ทำให้เกิดโรคได้หลังจากปลูกเชื้อเป็นเวลา 7 วัน โดยบริเวณยอดของต้นสตรอว์เบอร์รีแสดงอาการเหี่ยว และแห้งตายเปลี่ยนเป็นสีดำ หลังจากนั้น ราก และโคนต้น จะปรากฏอาการเน่าและอาการแห้งตาย และโคนต้นจะเปลี่ยนไปเป็นสีน้ำตาลไปจนถึงสีดำ การระบุชนิดของเชื้อราทั้ง 3 ไอโซเลท โดยอาศัยลักษณะทางสัณฐานวิทยา และการวิเคราะห์ลำดับเบสบริเวณ internal transcribed spacer (ITS) และ large subunit of the nuclear ribosomal RNA (LSU) และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการ พบว่า เชื้อราทั้ง 3 ไอโซเลท คือ เชื้อรา Lasiodiplodia theobromae การทดสอบประสิทธิภาพของแบคทีเรียปฏิปักษ์ในการยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อรา L. theobromae ไอโซเลท LSS-1, LSR-2 และ LSC-3 โดยทดสอบด้วยเทคนิค dual culture บ่มที่เวลา 7 วัน บนอาหาร PDA พบว่าเชื้อแบคทีเรีย B. subtilis S93, B. siamensis RFCD306, B. velezensis NK-CSL02 และ B. amyloliquefaciens PD-VVL01 มีประสิทธิภาพการยับยั้งในระดับสูงโดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งอยู่ระหว่าง 82.07%-100.00% การทดสอบประสิทธิภาพของแบคทีเรียปฏิปักษ์ในการยับยั้งการงอกสปอร์ด้วยวิธี slide culture พบว่าแบคทีเรียปฏิปักษ์ทั้ง 4 ไอโซเลท มีประสิทธิภาพในการยับยั้ง การงอกของสปอร์อยู่ระหว่าง 64.00%-89.34% เมื่อตรวจสอบภายใต้ compound microscope พบลักษณะของปลายเส้นใยบวมพอง และการงอกของสปอร์ที่ผิดปกติ การทดสอบการควบคุมโรค dieback ที่ปลูกเชื้อด้วย L. theobromae ไอโซเลท LSS-1 โดยการใช้ B. subtilis S93 ทดสอบในสภาพโรงเรือน พบว่า การพ่นด้วย B. subtilis S93 ไว้ล่วงหน้าเป็นเวลา 3 วัน ก่อนการปลูกเชื้อราสาเหตุโรค มีประสิทธิภาพการควบคุมโรคได้มากที่สุด โดยมีเปอร์เซ็นต์การควบคุมโรคเท่ากับ 78.38%en_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630831061-ชิษณุพงศ์ เพชรพรรณ.pdf3.84 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.