Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78677
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Jutamas Jiaranaikulwanitch | - |
dc.contributor.advisor | Sasithorn Sirilun | - |
dc.contributor.advisor | Pradchaya Tipduangta | - |
dc.contributor.author | Nuttapong Tokanitchart | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-22T00:47:01Z | - |
dc.date.available | 2023-08-22T00:47:01Z | - |
dc.date.issued | 2023-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78677 | - |
dc.description.abstract | Curcumin is the major phytochemical compound derived from Curcuma longa L. It exhibits several pharmacological properties, including homeostatic, antibacterial, antiparasitic, hepatoprotective, antioxidant, and anti-inflammatory activity. The dissolubility and impermeability of curcumin are disadvantageous characteristics that prevent curcumin from being medically utilized as an active medicinal ingredient. Moreover, low absorption rates and prolonged drug dissolution are also characteristics which resulted in reduced curcumin's oral bioavailability. Thus, a variety of pharmacological formulations are designed to increase the solubility and bioavailability of curcumin. To serve the commercial requirement, curcumin have been developed into various forms, such as salt form, derivatives, prodrugs, and cocrystals. Due to its capacity to alter phesicochemical properties such as solubility while retaining the bioactivity of a medicine, cocrystal formation is preferred. In order to enhance the solubility and dissolution of curcumin, this research is aimed to develop cocrystals of curcumin that contain amino acids such as histidine, glutamine, tryptophan, 5-hydroxytryptophan and aspartic acid as coformers. Curcumin cocrystals were synthesized through dry and liquid assisted grinding methods. The cocrystal formation were later verified by FTIR, DSC and PXRD. These curcumin cocrystals' solubility was assessed. It was demonstrated that liquid assisted grinding with ethanol is more favorable method in order to produce curcumin with higher solubility than dry grinding method. The best solubility cocrystal, Cur-Asp, was selected to study the dissolution profile. Curcumin dissolution is boosted by 1.5 times when ground with aspartic acid in both liquid assistance and dry grinding methods.Moreover, through antioxidant assay, cocrystal of curcumin and aspartic acid enhances up to twice antioxidant activity, when compared with pure curcumin. This result obviously proves synergistic effect of cocrystal. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Study of curcumin cocrystal formation and properties evaluations | en_US |
dc.title.alternative | การศึกษาการเกิดโคคริสตัลของเคอร์คิวมินและประเมินคุณสมบัติ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Curcumin | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Antioxidants | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Amino acids | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Pharmacology | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | เคอร์คิวมินเป็นสารพฤกษเคมีที่พบได้มากในขมิ้นชัน สารนี้มีคุณสมบัติทางเภสัชวิทยามากมาย เช่น ช่วยรักษาสมดุลของร่างกาย มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียและปรสิต ช่วยปกป้องตับ มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและต้านการอักเสบ เป็นต้น ภาวการณ์ละลายน้ำได้น้อยและซึมผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ยากเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้สารเคอร์คิวมินยังไม่ถูกนำมาใช้ในการแพทย์เท่าที่ควร ยิ่งไปกว่านั้น อัตราการดูดซึมเข้าสู่ร่างกายที่น้อยและอัตราการละลายที่ใช้เวลานานส่งผลให้ปริมาณของเคอร์คิวมินที่ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายมีปริมาณต่ำ ซึ่งในปัจจุบันมีการพัฒนารูปแบบทางเภสัชภัณฑ์ขึ้นเป็นจำนวนมากเพื่อเพิ่มการละลายและปริมาณการดูดซึมของสารเคอร์คิวมินเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด เช่น รูปแบบเกลือ อนุพันธ์ทางเคมี โปรดัก และโคคริสตัล ซึ่งโคคริสตัลได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงเพราะสามารถช่วยปรับปรุงคุณลักษณะทางเคมีกายภาพที่ไม่พึงประสงค์ของยาโดยไม่ทำลายฤทธิ์ของยานั้น ดังนั้นงานวิจัยชิ้นนี้มีเป้าหมายที่จะพัฒนาสารเคอร์คิวมินในรูปแบบโคคริสตัลโดยอาศัยกรดอะมิโนเป็นองค์ประกอบเพื่อเพิ่มความสามารถในการละลายและอัตราการละลายของสารเคอร์คิวมิน โดยโคคริสตัลของสารเคอร์คิวมินถูกสังเคราะห์ขึ้นด้วยวิธีการบดผสมแบบแห้งและวิธีการบดผสมแบบอาศัยตัวทำละลายช่วย และพิสูจน์เอกลักษณ์ของเคอร์คิวมินโคคริสตัลที่เกิดขึ้นโดยอาศัยการวิเคราะห์ด้วยวิธี FTIR, DSC และ PXRD จากนั้นโคคริสตัลของสารเคอร์คิวมินถูกนำไปทดสอบความสามารถในการละลาย โดยพบว่าโคคริสตัลของสารเคอร์คิวมินที่ได้จากวิธีการบดผสมโดยใช้ตัวทำละลายช่วยมีความสามารถในการละลายสูงกว่าโคคริสตัลของสารเคอร์คิวมินที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยวิธีการบดผสมแบบแห้ง ซึ่งโคคริสตัลของสารเคอร์คิวมิน และกรดแอสปาร์ติกมีความสามารถในการละลายสูงที่สุด เมื่อวิเคราะห์อัตราการละลายของโคคริสตัลดังกล่าว พบว่าโคคริสตัลของสารเคอร์คิวมินและกรดแอสปาร์ติกทั้งจากการสังเคราะห์ด้วยวิธีการบดผสมแบบแห้งและบดผสมโดยอาศัยตัวทำละลายช่วยมีอัตราการละลายของสารเคอร์คิวมินสูงขึ้นถึง 1.5 เท่าเทียบกับสารเคอร์คิวมินเดี่ยว และจากการทดสอบความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของโคคริสตัลเคอร์คิวมินและกรดแอสปาร์ติก พบว่าโคคริสตัลดังกล่าวมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระมากกว่าสารเคอร์คิวมินเดี่ยวถึงสองเท่า ซึ่งแสดงให้เห็นว่าโคคริสตัลของสารเคอร์คิวมินและกรดแอสปาร์ติกช่วยเพิ่มฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารเคอร์คิวมินแบบเสริมฤทธิ์กัน | en_US |
Appears in Collections: | PHARMACY: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
thesis 10 8 66-ลงลายน้ำแล้ว.pdf | 909.21 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.