Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78665
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กรรณิกา แซ่ลิ่ว | - |
dc.contributor.advisor | เยาวเรศ เชาวนพูนผล | - |
dc.contributor.author | อธิพันธ์ สร้อยญาณะ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-19T09:04:30Z | - |
dc.date.available | 2023-08-19T09:04:30Z | - |
dc.date.issued | 2023-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78665 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to analyze factors that affected farmers' acceptance of drone and the attitude of farmers toward perceived attributes of drone for spraying chemicals in paddy fields. The factor analysis was carried out by interview the samples of 240 farmers in San Kamphaeng district, Chiang Mai Province. Divided into a group of 80 drone service users, a group that has never used it but is interested in using a drone service of 80 people, and a group of 80 people who do not use drone services. Using descriptive statistics and Likert Scale to analyze the attitudes toward technology's features, and using Chi-Square statistic to analyze the factors that affected the technology's acceptability. The findings revealed that the attitudes toward properties of technology that affected the acceptance of drone technology of farmers were: relative advantage of drone technology has the highest agree rating. Especially in such a way that drones work faster than human laborers. Secondary is the technology that compatibility. More specifically, compatibility beliefs in technology that drone is appropriate as it can be used in all conditions in the field and support for better pest management. In addition, the opinion of drone technology that can be easily tested has a low score, probably due to farmers having difficulty contacting drone operators, long queues and few drone operators.For the results of factors affected the acceptance of drone technology at a significant level of 0.05 were as follows: personal factor was age and the use of smartphones; economic factors were high rice income and a large rice-growing area; social factors were leadership; getting advice from farmer group leaders /farmer network and physical factor was the number of occurring pests. The target farmer's group of drone operators should be young farmers or under the age of 60, farmers with a large number of rice fields, such as more than 20 rai, earning more than 100,000 baht per time from rice farming, have frequent problems with pests in the rice field and has the status of a leader of a group of farmers or leaders in various fields.For ways to encourage more farmers to provide drone services should be promoted through leading farmers , farmers who farm a lot of land or groups of farmers such as big farm of rice fields, etc. Drone operators should have a simple and convenient communication channel for farmers, demonstrating the benefits of drones in terms of speed of operation, being able to manage pests in time, resulting in more profitable farming. At the same time, drone operators should have enough drones and service teams to sufficient for farmer needs. Drone operators should not keep farmers waiting in long queues. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การยอมรับเทคโนโลยีการใช้อากาศยานไร้คนขับในการพ่นสารเคมีในนาข้าวของเกษตรกรในอำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Adoption of unmanned aerial vehicle chemicals spraying technology in paddy field of farmers in San Kamphaeng district, Chiang Mai province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | เทคโนโลยีการเกษตร | - |
thailis.controlvocab.thash | อากาศยานไร้นักบิน | - |
thailis.controlvocab.thash | เกษตรกร -- สันกำแพง (เชียงใหม่) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของเกษตรกรที่มีต่อคุณลักษณะของเทคโนโลยีการ ใช้อากาศยานไร้คนขับของเกษตรกรในการพ่นสารเคมีในนาข้าวและวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีการใช้อากาศยานไร้คนขับของเกษตรกรโดยทำการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างเกษตรกรจำนวน 240 รายในพื้นที่อำเภอสันกำแพงจังหวัดเชียงใหม่แบ่งเป็นกลุ่มผู้ใช้บริการโดรนจำนวน 80 คนกลุ่มไม่เคยใช้แต่สนใจที่จะใช้บริการโดรนจำนวน 80 คนและกลุ่มไม่ใช้บริการโดรนจำนวน 80 คนใช้สถิติเชิงพรรณนาและมาตรวัดลิเคิร์ทมาทำการวิเคราะห์ทัศนคติของเกษตรกรที่มีต่อคุณลักษณะเทคโนโลยีและใช้ค่าสถิติไคสแควร์ในการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีผลการศึกษาพบว่าในส่วนทัศนคติของเกษตรกรที่มีต่อคุณลักษณะเทคโนโลยี 5 ด้านที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีโดรนพบว่าด้านการรับรู้ประโยชน์ของเทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับเกษตรกรมีคะแนนความเห็นด้วยสูงสุดโดยเฉพาะในลักษณะที่โดรนทำงานได้เร็วกว่าแรงงานคนรองลงมาคือด้านเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับการทำนาประเด็นที่โดรนสามารถใช้ได้ทุกสภาพพื้นที่นาและการสนับสนุนการจัดการศัตรูพืชให้ดียิ่งขึ้นในขณะที่ด้านเทคโนโลยีโดรนที่สามารถทดลองใช้งานได้ง่ายมีคะแนนความเห็นด้วยน้อยที่สุดอาจเนื่องมากจากเกษตรกรติดต่อผู้ให้บริการโดรนได้ยากต้องรอคิวนานและมีผู้ให้บริการโดรนน้อยราย ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับใช้เทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 นั้น ในด้านลักษณะส่วนบุคคลคืออายุของเกษตรกรและการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนด้านเศรษฐกิจคือรายได้จากข้าวพื้นที่ปลูกข้าวด้านสังคมคือการเป็นผู้นำการได้รับคำแนะนำจากผู้นำกลุ่มเกษตรกรเครือข่ายเกษตรกร ด้านกายภาพ คือ จำนวนครั้งของการเกิดศัตรูพืช กลุ่มเกษตรกรเป้าหมายของผู้ให้บริการโดรน ควรเป็น กลุ่มเกษตรกรที่อายุไม่มาก หรือมีอายุต่ำกว่า 60 ปี หรือเกษตรกรที่มีพื้นที่ทำนาเป็นจำนวนมาก เช่น มากกว่า 20 ไร่ มีรายได้จากการทำนามากกว่า 100,000 บาท/ครั้ง มีปัญหาการเกิดศัตรูพืชในนาบ่อยครั้ง และมีสถานภาพเป็นผู้นำกลุ่มเกษตรกรหรือผู้นำด้านต่างๆสำหรับแนวทางการส่งเสริมเกษตรกรให้มาบริการโดรนมากขึ้น ควรส่งเสริมผ่านเกษตรกรผู้นำ ผู้ที่ทำนาพื้นที่มากๆ หรือกลุ่มเกษตรกร เช่น กลุ่มนาแปลงใหญ่ เป็นต้น ผู้ให้บริการโดรนควรมีช่องทางการติดต่อสื่อสารเกษตรกรที่ง่ายและสะดวก แสดงให้เห็นถึงประโยชน์ของโดรนในด้านความเร็วในการทำงานสามารถจัดการศัตรูพืชได้ทันเวลาส่งผลให้การทำนามีกำไรมากขึ้น พร้อมกันนี้ผู้ให้บริการควรมีปริมาณโดรนและทีมงานให้บริการเพียงพอต่อความต้องการของเกษตรกร ไม่ควรให้เกษตรกรรอคิวนานเกินไป | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610832004- อธิพันธ์ สร้อยญาณะ.pdf | 1.3 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.