Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78647
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พนม กุณาวงค์ | - |
dc.contributor.author | กฤษ สิริมหาสกุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-17T01:25:24Z | - |
dc.date.available | 2023-08-17T01:25:24Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78647 | - |
dc.description.abstract | The main objective of this research is to study the strategic plans in developing Chiang Mai’s Clean Energy, to assess Chiang Mai’s Clean Energy capability and capacity, and to propose guidelines and recommendation of clean energy development in Chiang Mai province. This paper is a qualitative research by studying, exploring, and gathering all relevant data from the Clean Energy Development Plan and Policy of Thailand, including gaining data and documents from academic documents and in-depth interviews of the government executives who play an important role and are currently involved in policy planning and implementation on Chiang Mai’s Clean Energy Strategy. Also the data from 20 people who are involved in Chiang Mai’s Clean Energy. SOAR analysis is used for Internal Chiang Mai potential and PESTEL analysis for external factors affecting Chiang Mai Strategic Plan. The research found that the Strategic plan and the clean energy policy driver are inefficient. There are two kinds of clean energy in Chiang Mai that have potential which are solar and biomass energy that might be used to replace traditional energy like fossil fuel as well as the environmental conservation. In order to propose guidelines and recommendations of the strategic plan for Clean Energy’s development. There would be four energy strategies to be used which are 1. Strategy for Development and Strengthening of Clean Energy Potential, 2. Strategy for Natural Resources Conservation and Sustainable Environment, 3. Strategy for Knowledge Development and Supporting the Use of Modern Technology, and 4. Strategy for Legal Development and Clean Energy Processes | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | แนวทางการพัฒนายุทธศาสตร์การพัฒนาพลังงานสะอาดของจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Development guideline for the clean energy development strategies of Chiang Mai province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | พลังงานสะอาด -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | พลังงานแสงอาทิตย์ | - |
thailis.controlvocab.thash | พลังงานชีวมวล | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแผนยุทธศาสตร์และการขับเคลื่อนพลังงานสะอาด รวมถึงประเมินศักยภาพพลังงานสะอาดภายในจังหวัดเชียงใหม่ และเสนอแนะแนวทางการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพลังงานสะอาดจังหวัดเชียงใหม่ งานวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจากเอกสารแผนพัฒนาพลังงานสะอาดและนโยบายด้านพลังงานสะอาดของประเทศไทย เอกสารค้นวิชาการจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้บริหารภาครัฐที่มีอำนาจในการตัดสินใจในการกำหนดยุทธศาสตร์ด้านพลังงานสะอาด และผู้บริหารที่มีหน้าที่นำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ รวมถึง ประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องในเรื่องการใช้พลังงานสะอาดในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 20 คน โดยการนำข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาวิเคราะห์ใช้ SOAR Analysis เพื่อประเมินศักยภาพภายใน และการวิเคราะห์ใช้ PESTEL Analysis เพื่อประเมินศักยภาพปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการขับเคลื่อนเแผนยุทธศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า แผนยุทธศาสตร์และการขับเคลื่อนพลังงานสะอาดในจังหวัดเชียงใหม่ไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ซึ่งพลังงานสะอาดในจังหวัดเชียงใหม่ที่มีศักยภาพมี 2 ชนิด ได้แก่ พลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานชีวมวล ตามลำดับ โดยสามารถนำมาใช้ทดแทนพลังงานอื่นได้ และเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ทั้งนี้เพื่อเสนอแนะแนวทางการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพลังงานสะอาด จึงได้นำกลยุทธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์มาขับเคลื่อนและวางกลยุทธ์ในการพัฒนาได้ 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพด้านพลังงานสะอาด 2. ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์ความรู้และสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย และ 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนากฎหมายและกระบวนการด้านพลังงานสะอาด | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631932015 กฤษ สิริมหาสกุล.pdf | 7.13 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.