Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78644
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorบารมี บุณยรัตนสุนทรen_US
dc.date.accessioned2023-08-15T01:32:23Z-
dc.date.available2023-08-15T01:32:23Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78644-
dc.description.abstractStudy subject Collaboration in the Subdistrict Level Planning Development According to the Planning and Collaborative Area Development Plan Approach in Huaysai Subdistrict, San Kamphaeng District, Chiang Mai Province. The objectives of this study were to study the nature of cooperation guidelines, problems, obstacles and outcomes from a stakeholder in the process. This study using a qualitative research methodology. Data were collected by semi-structured interview. The informants were government officials involved in the preparation of the subdistrict level planning development, including officer from the Huaysai subdistrict municipality and the San Kamphaeng district administrative office and practitioners in the people sector involved in the preparation of the development plan at the subdistrict level, such as the village headman, village committee representatives; and 10 representatives of the community. The results of the preliminary study found that in the process of collaboration in the subdistrict level planning development the public sector Huaysai subdistrict municipality which is a local government organization and the San Kamphaeng district administrative office which is a regional government agency. It is characterized by having a local government organization as an intermediary that helps collaboration between the people's sector and the provincial authorities because the local government organization is closer to the people in the area. Therefore, Huaysai subdistrict municipality acts as a mentor who advises, supervises and assists the people's sector in preparing their own development plans. While the main obstacles in the preparation of subdistrict level planning development are both internal and external factors. Including internal factors, namely the lack of knowledge and experience in accordance with the guidelines set by the government. And external factors are the epidemic situation of the Coronavirus Disease 2019 that affects the process that requires the local community. The last is the result in the opinions of stakeholders, it was found that the preparation of subdistrict level planning development resulted in development projects that government sectors would implement. It comes from real problems in the area and meets the needs of the people more than ever. Because in that process, the people's sector plays an important role as the main propellant of the propulsion. It made they feel that the subdistrict level planning development that was truly a development plan for the people in Huaysai subdistrict. While the government sector has benefited from the people who prepare the development plans themselves because it reduces the workload and duties of government agencies.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประสานความร่วมมือในการจัดทำแผนพัฒนาระดับตำบลตามแนวทางการจัดทำแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นที่ในตำบลห้วยทราย อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeCollaboration in the subdistrict level planning development according to the planning and collaborative area development plan approach in Huaysai Subdistrict, San Kamphaeng District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการวางแผนพัฒนาระดับตำบล-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาชุมชน – สันกำแพง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาชุมชน แผนพัฒนาท้องถิ่น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง การประสานความร่วมมือในการจัดทำแผนพัฒนาระดับตำบล ตามแนวทางการจัดทำแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นที่ในตำบลห้วยทราย อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะแนวทางการประสานความร่วมมือ ปัญหาอุปสรรค และผลที่เกิดขึ้นในมุมมองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จากกระบวนการประสานความร่วมมือในการจัดทำแผนพัฒนาระดับตำบลในตำบลห้วยทราย อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ เชียงใหม่ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งมีโครงสร้างโดยมีผู้ให้ ข้อมูลคือผู้ปฏิบัติงานในภาคส่วนราชการที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำแผนพัฒนาระดับตำบล ได้แก่ ข้าราชการและเจ้าหน้าที่จากเทศบาลตำบลห้วยทรายและที่ทำการปกครองอำเภอสันกำแพง และผู้ปฏิบัติงานในภาคส่วนประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำแผนพัฒนาระดับตำบล ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทนคณะกรรมการหมู่บ้าน และผู้แทนประชาคม จำนวน 10 ราย จากผลการศึกษาในเบื้องต้นพบว่า ในกระบวนการประสานความร่วมมือในการจัดทำแผนพัฒนาระดับตำบล ระหว่างภาคประชาชน เทศบาลตำบลห้วยทรายที่เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และที่ทำการปกครองอำเภอสันกำแพงที่เป็นหน่วยงานราชการระดับภูมิภาคมีลักษณะที่มืองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นตัวกลางที่ช่วยประสานความร่วมมือระหว่างภาคประชาชนกับหน่วยงานส่วนภูมิภาค เพราะว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นมีความใกล้ชิดกับภาคประชาชนในพื้นที่มากกว่า ดังนั้นเทศบาลตำบลห้วยทรายที่เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงทำหน้าที่เสมือนพี่เลี้ยงที่คอยแนะนำ และช่วยเหลือภาคประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาของตนเอง ขณะที่ปัญหาอุปสรรคที่สำคัญในการจัดทำแผนพัฒนาระดับตำบลนั้นมีทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอก ได้แก่ ปัจจัยภายใน คือ การที่ภาคประชาชนนั้นขาดขาดความรู้และประสบการณ์ในการจัดทำแผนพัฒนาตามแนวทางที่ทางราชการกำหนด และปัจจัยภายนอก คือ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ส่งผลกระทบต่อกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาที่จะต้องมีการประชาคมท้องถิ่น และสุดท้ายคือผลที่เกิดขึ้นในมุมมองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในความเห็นและมุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พบว่าในการจัดทำแผนพัฒนาระดับตำบลนั้นส่งผลให้โครงการพัฒนาที่ภาคส่วนราชการนั้นจะนำไปดำเนินการมาจากปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่และตรงกับความต้องการของประชาชนมากขึ้นกว่าที่เคยเป็น เพราะในกระบวนการนั้นภาคส่วนประชาชนได้มีส่วนสำคัญในฐานะหัวเรือหลักในการขับเคลื่อน ทำให้รู้สึกว่าแผนพัฒนาระดับตำบลที่จัดทำขึ้นมานั้นเป็นแผนพัฒนาของประชาชนในตำบลห้วยทรายอย่างแท้จริง ขณะที่ภาคส่วนราชการก็ได้ประโยชน์จากการที่ประชาชนเป็นผู้จัดทำแผนพัฒนาด้วยตนเอง เพราะว่าเป็นการลดภาระงานและหน้าที่ของหน่วยงานราชการลงen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631932005 บารมี บุณยรัตนสุนทร.pdf3.39 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.