Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78643
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนม กุณาวงค์-
dc.contributor.authorบรม มณียศen_US
dc.date.accessioned2023-08-15T01:20:53Z-
dc.date.available2023-08-15T01:20:53Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78643-
dc.description.abstractThis research aims 1) to study public relations of the village headman. 2) To study the methods and the problems of public relations. 3) To study the difference of the public relations acknowledging of villagers in each village which lives different area. This research is qualitative research. This research is purposive sampling: The village headman in Chiang Kang 5 people and their villages 3 people each total 20 people. It uses the semi-structured interview is research instrument and analysis information in inductive methods. The results of this research showed 1) The devices which village headman publicizes news or other issues to his villages are the loud-speakers, Line application and the village meeting. 2) The problems of public relations in village are the loud-speakers is degenerated or broken and is not cover the village area. Some villagers were not use Line application so they can read information or other issues immediately. The mobile phone signal is not cover in the area. Every village are not participle in village meeting. 3) The efficiency of commination between the village headman and his villagers is before the headman told information to his villages, the headman would make understanding with information by himself. Next, complied the information to easy for understanding to the villages. then, the headman presented the information to his villagers. The villagers in each village received information in difference things. They are public relations skill of the village headman have affected information perception of villager in different way. Making Line group have affected information perception of villager in different way. And the village meeting, the villager knew information from the village headman is not difference.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการรับรู้ข่าวสารของประชาชนผ่านการสื่อสารของผู้ใหญ่บ้านในอำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่านen_US
dc.title.alternativeFactors affecting people information reception through the village headman communication in Chiang Klang District, Nan Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashข่าว-
thailis.controlvocab.thashสื่อมวลชน-
thailis.controlvocab.thashการรับรู้-
thailis.controlvocab.thashผู้ใหญ่บ้าน- - เชียงกลาง (น่าน)-
thailis.controlvocab.thashการประชาสัมพันธ์- - เชียงกลาง (น่าน)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการประชาสัมพันธ์สารของผู้ใหญ่บ้าน 2) เพื่อศึกษาวิธีการและปัญหาการสื่อสารประชาสัมพันธ์ของผู้ใหญ่บ้าน 3) เพื่อศึกษาว่าประชาชนแต่ละหมู่บ้านที่อาศัยอยู่ในลักษณะพื้นที่ที่แตกต่างกันรับรู้การประชาสัมพันธ์ของผู้ใหญ่บ้านแตกต่างกันหรือไม่ โดยการศึกษานี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ดำเนินการสุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลสำคัญแบบเจาะจง ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้านในพื้นที่อำเภอเชียงกลาง 5 ราย และประชาชนในหมู่บ้านของผู้ใหญ่บ้านที่เป็นผู้ให้ข้อมูลหมู่บ้านละ 3 ราย รวมทั้งสิ้น 20 ราย ใช้กระบวนการสัมภาษน์แบบกึ่งโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และทำการวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงพรรณนาผ่านระเบียบวิธีการศึกษา ผลการวิจัย พบว่า 1) ผู้ใหญ่บ้านใช้เครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนในหมู่บ้านทราบ ได้แก่ หอกระจายข่าวหมู่บ้าน แอปพลิเคชัน ไลน์ และการประชุมหมู่บ้าน 2) ปัญหาอุปสรรคในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ของผู้ใหญ่บ้าน ได้แก่ ลำโพงหอกระจายข่าวหมู่บ้านเสื่อมสภาพหรือชำรุด ลำโพงหอกระจายข่าวหมู่บ้านไม่ทั่วถึงทั้งหมู่บ้าน ประชาชนในหมู่บ้านไม่ใช้ไลน์และไม่ได้อ่านข้อความทางไลน์ที่ผู้ใหญ่บ้านประชาสัมพันธ์ในทันที สัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ประชาชนในหมู่บ้านไม่ได้เข้าร่วมการประชุมหมู่บ้านทุกคนลักษณะพื้นที่บ้านที่ห่างไกลกันส่งผลให้ไม่ได้ยินเสียงลำโพงหอกระจายข่าวหมู่บ้าน 3) ประสิทธิภาพการสื่อสารของผู้ใหญ่บ้านต่อประชาชนในหมู่บ้าน ได้แก่ ก่อนประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผู้ใหญ่บ้านจะดำเนินการทำความเข้าใจสาร เรียบเรียงสารใหม่ และจึงนำเสนอสาร โดยประชาชนในแต่ละหมู่บ้านจะทราบสารแตกต่างกัน ดังนี้ ทักษะการประชาสัมพันธ์ของผู้ใหญ่บ้านส่งผลต่อการรับรู้ของประชาชนในหมู่บ้านแตกต่างกัน การตั้งหรือไม่ตั้งกลุ่มไลน์ของหมู่บ้านส่งผลต่อการรับรู้ของประชาชนในหมู่บ้านแตกต่างกัน การประชุมหมู่บ้านประชาชนรับทราบข้อมูลข่าวสารจากผู้ใหญ่บ้านไม่แตกต่างกันen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631932004 บรม มณียศ.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.