Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78636
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสิยา นารินทร์-
dc.contributor.advisorวิลาวัณย์ เตือนราษฎร์-
dc.contributor.authorณีรนุช วงค์เจริญen_US
dc.date.accessioned2023-08-11T09:35:56Z-
dc.date.available2023-08-11T09:35:56Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78636-
dc.description.abstractA quasi-experimental study, with two-group, pretest–posttest design aimed to study the effect of an empowerment program on the COVID-19 prevention practices of village health volunteers. The participants were fifty village health volunteers who worked in the sub-district health promoting hospital in Jun district, Phayao province. The participants were selected by purposive sampling and assigned to an experimental group (n=25) and a control group (n = 25). The research was conducted over a 4-week period, from March to April 2022. The research instruments consisted of 1) an empowerment program on COVID-19 prevention practices for village health volunteers; 2) a guidebook on COVID-19 prevention practices for village health volunteers; and 3) a questionnaire on COVID-19 prevention practices for village health volunteers which was verified for content accuracy by six experts and the content validity index was 0.92 and a Cronbach’s alpha coefficient was 0.89. Descriptive statistics, paired t-test, and independent t-test were used to analyze data. The results revealed that the experimental group had mean scores for COVID-19 prevention practices at the highest level (X=4.59, SD=0.27); higher than before receiving the empowerment program, at a high level (X=3.53, SD=0.17); and higher than those of the control group, at a high level (X=3.55, SD=0.29) with statistical significance (p<0.001). The findings can be used as guidelines to promote community nurses and health care teams to support the empowerment of village health volunteers to utilize effective and efficient COVID-19 prevention practices. They can also be used to prevent the infection of oneself and of those in the community.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านen_US
dc.title.alternativeEffect of the empowerment program on COVID-19 prevention practices of village health volunteersen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน-
thailis.controlvocab.thashโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) แบบ 2 กลุ่ม วัดซ้ำ (two group pretest-posttest design) ก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อำเภอจุน จังหวัดพะเยา คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) จำนวน 50 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 25 คน รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2565 รวมระยะเวลา 4 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2) คู่มือความรู้สำหรับการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และ 3) แบบสอบถามการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 6 ท่าน โดยมีดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI) เท่ากับ 0.92 และได้ค่าความเชื่อมั่นเป็นค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ0.89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติ paired t-test และ independent I-test ผลการวิจัยพบว่า หลังได้รับโปรแกรมฯ กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับมากที่สุด ( X=4.59, SD=0.27) สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ ที่ระดับมาก ( X =3.53, SD=0.17) และสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ระดับมาก ( X =3.55, SD=0.29) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมให้พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนและทีมสุขภาพ นำไปใช้ในการสร้างเสริมพลังอำนาจของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านให้มีการป้องกันโรคติคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชนที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อการป้องกันการติดเชื้อของตนเองและคนในชุมชนen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631231135 ณีรนุช วงค์เจริญ.pdf2.43 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.