Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78626
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorShirley Worland-
dc.contributor.advisorRangsima Wiwatwongwana-
dc.contributor.authorDeloach, Sarahen_US
dc.date.accessioned2023-08-08T10:47:14Z-
dc.date.available2023-08-08T10:47:14Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78626-
dc.description.abstractThis research focuses on the emergence of Thailand as an ageing society. It explores how having a growing proportion of the population being elderly has affected older adults in Chiang Mai, addressing the ways in which this group exercise agency and autonomy amidst the changing family dynamics that are a consequence of this demographic shift. Topics discussed in this research that help lay the foundation for understanding the impact these trends have on older Thai adults include low fertility, migration, urbanization, filial responsibility, and multi-generational cohabitation. This study is broken into two parts. The first part of the study looks at ways in which older Thai adults' lifestyles have changed or been impacted by Thailand's rapid emergence as an ageing society. It identifies current trends using a macro lens in order to determine how the role and lifestyle of older adults has been affected by this shifting structure and the accompanying dynamics. The second part of this study centers around the individual on a more micro scale, in order to identify specific ways that elderly Thais in the peri-urban area of Chiang Mai continue to exercise agency in daily life. In order to understand and explain the research phenomena, this study draws upon four main concepts: biopolitics, kinship redefined, social body, and body capital. The conceptual framework utilized highlights the ways that the elements of these concepts are related and work together, tying together macro trends with micro choices and illustrating how structure and agency are intertwined in a continual, dynamic process. This study consists of two findings chapters, multi-faceted kinship redefined and agency and well-being of older adults in Chiang Mai. "Multi-faceted Kinship Redefined" looks at the way that the elderly maintain strong kinship networks amidst a societal-level shift in family size and living arrangements. "Agency and Well-being" focuses on life as it is lived, the way that elderly members structure their everyday to bring meaning to their lives. This study was qualitative in nature with participant observation, individual in-depth interviews, key informant interviews, and secondary data collection being the primary methods of gathering data. A total of 16 individual in-depth interviews and 4 key informant interviews were conducted between March 2020 and June 2021. To capture an urban and peri-urban perspective of ageing interviews were conducted with participants from the areas of Wat Kaet and San Kamphaeng in Chiang Mai.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleGraying gracefully in Lanna: the experience of ageing in Chiang Mai amidst a demographic shiften_US
dc.title.alternativeการเข้าสู่วัยชราอย่างสง่างามในล้านนา: ประสบการณ์ของผู้สูงอายุในเชียงใหม่ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางประชากรen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashOlder people -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.thashOlder people -- Conduct of life-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยชื้นนี้ มุ่งเน้นที่จะศึกษาถึงการเกิดขึ้นของสังคมผู้สูงอายุในประเทศไทย โดยงานวิจัยได้ทำการ สำรวจถึงการเพิ่มขึ้นของสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุ ที่ส่งผลกระทบกับตัวผู้สูงอายุที่อยู่อาศัยในจังหวัด เชียงใหม่ โดยกล่าวถึง แนวทางที่กลุ่มผู้สูงอายุสร้างความเป็นเอกเทศท่ามกลางพลวัตรของการ เปลี่ยนแปลงทางครอบครัว ที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงด้าน โครงสร้างประชากร หัวข้อ ต่าง ๆ ที่ได้อภิปรายในงานวิจัยนี้ จะช่วยวางรากฐาบสำหรับการทำความเข้าใจผลกระทบที่แนวโน้ม เหล่านี้มีต่อผู้สูงอายุไทย ซึ่งรวมถึง ภาวะการเจริญพันธุ์ต่ำ การอพยพย้ายถิ่น ความเป็นเมือง ความ รับผิดชอบของบุตรต่อบุพการี และการอยู่ร่วมกันของคนหลายช่วงวัย การศึกษานี้แบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกของการศึกษานี้ มองถึงแนวทางต่าง ๆ ที่ผู้สูงอายุไทยใช้ ในการดำเนินชีวิตซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงหรือได้รับผลกระทบจากการเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วของสังคม ผู้สูงอายุในประเทศไทย การศึกษาได้ระบุถึงแนวโน้มปัจจุบันผ่านมุมมองเชิงมหภาค เพื่อที่จะลง ความเห็นว่า บทบาทและแนวทางในการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุได้รับผลกระทบจากโครงสร้างที่มี การเปลี่ยนแปลงนี้ และมีการจัดการกับพลวัตรที่เกิดขึ้นอย่างไร ส่วนที่สองของการศึกษานี้ เน้นไปที่ ตัวบุคคลที่ระดับจุลภาคมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ เพื่อชี้ให้เห็นถึงแนวทางที่จำเพาะเจาะจงที่ผู้สูงอายุไทยที่อาศัย ในเขตชานเมืองเชียงใหม่ ในการสร้างความเป็นเอกเทศในการดำเนินชีวิตประจำวันอย่างต่อเนื่องเพื่อที่จะทำความเข้าใจและอธิบายปรากฏการณ์ ของการวิจัย การศึกษานี้ สร้างจากแนวคิดสี่ประการ หลัก ได้แก่ ชีวะการเมือง เครื่อญาติในการให้คำนิยามใหม่ ร่างกายทางสังคม และทุนทางร่างกาย กรอบแนวคิดที่ใช้ประโชชน์ของการเน้นแนวทางต่าง ๆ ที่องค์ประกอบของแนวคิดเหล่านี้ เกี่ยวข้อง และทำงานร่วมกัน โดยเชื่อมโยงแนวโน้มในระดับมหภาคกับทางเลือกต่าง ๆ ในระดับจุลภาพ และ แสดงให้เห็นว่าโครงสร้างและความเป็นเอกเทศมีความเชื่อมโยงกันอย่างต่อเนื่องในกระบวนการที่ เป็นพลวัตรได้อย่างไร การศึกษานี้ ประกอบไปด้วยข้อค้นพบในสองบท คือ เครื่อญาติในการให้คำนิยามใหม่ในหลายแง่มุม และ ความเป็นเอกเทศและความเป็นอยู่ที่ดีของของผู้สูงอายุในจังหวัดเชียงใหม่ "เครือญาติในการให้ คำนิยามใหม่ในหลายแง่มุม" นี้ได้พิจารณาถึงแนวทางที่ผู้สูงอายุธำรงรักษาเครือญาติอย่างเข้มแข็ง ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง ทั้งในเรื่องของขนาดครอบครัวและการจัดการเรื่องที่อยู่อาศัย ส่วน "ความ เป็นเอกเทศและความเป็นอยู่ที่ดี" นั้น จะเน้นในเรื่องของการดำเนินชีวิตตามที่เป็นอยู่ แนวทางที่ ผู้สูงอายุจัดวางโครงสร้างในแต่ละวันเพื่อสร้างความหมายในชีวิตของตัวเองการศึกษานี้ เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยมีการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึกรายบุคคล การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก และการเก็บข้อมูลเชิงทุติยภูมิเป็นวิธีหลักในการราบรวมข้อมูล การ สัมภาษณ์เชิงลึกแบบรายบุคคลจำนวน 16 กรั้ง และสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก 4 ครั้ง ได้ดำเนินการ ระหว่างเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563 ถึงมิถุนายน พ.ศ. 2564 เพื่อให้ครอบคลุมมุมมองของผู้สูงอายุที่อาศัย ในเขตชานเมือง และในเขตเมืองเชียงใหม่ ผู้วิจัยได้ดำเนินการสัมภาษณ์ผู้เข้าร่วมวิจัยจากทั้งสองพื้นที่ คือ ชุมชนวัดเกตุ และอำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620435805 SARAH HAMMOND EVE DELOACH.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.