Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78620
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Dussadee Praserttitipong | - |
dc.contributor.advisor | Jakramate Bootkrajang | - |
dc.contributor.author | Vasin Jinopong | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-08T00:54:26Z | - |
dc.date.available | 2023-08-08T00:54:26Z | - |
dc.date.issued | 2022-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78620 | - |
dc.description.abstract | The matrix factorization technique is arguably one of the most widely employed collaborative filtering recommender systems. The recommendation results are derived from the user-item relationships discovered within some lower-dimensional latent space. Unfortunately, the optimal size of latent space dimension is generally data-dependent and is often tuned utilizing the time-consuming cross-validation scheme. Thus, this research proposes to leverage the power of the ensemble learning method to facilitate hyper-parameter selection and improve the recommendation performance. The recommender system results were obtained by combining the prediction results of multiple Singular Value Decomposition models generated from learning processes with different latent space dimensions. Experimental results based on MovieLen100K, MovieLen1M, BookCrossing, and Filmtrust datasets demonstrated that the proposed technique outperformed a tuned Singular Value Decomposition technique in terms of RMSE and MAE values. Additionally, the recommendation model creation time was reduced because no other brute-force process for figuring out the optimal size of latent space dimension was required. Furthermore, the research results also indicate that ensemble learning that pays more attention to lower-dimensional latent spaces tends to generalize better. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Enhanced singular values decomposition technique with ensemble learning for collaborative filtering recommender system | en_US |
dc.title.alternative | เทคนิคการแยกค่าเอกฐานที่เพิ่มสมรรถนะด้วยการเรียนรู้แบบรวมกลุ่มสําหรับระบบแนะนําแบบการกรองร่วม | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | Singular values | - |
thailis.controlvocab.thash | Factorization (Mathematics) | - |
thailis.controlvocab.thash | Data science | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | เทคนิคการแยกค่าเอกฐานถือว่าเป็นหนึ่งในเทคนิคที่นำมาใช้ในระบบแนะนำแบบการกรองร่วม อย่างแพร่หลายมากที่สุด ผลลัพธ์ของคำแนะนำได้มาจากความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้งานและผลิตภัณฑ์ที่กันพบได้ในพื้นที่ลาเทนต์ที่มีมิติต่ำกว่า อย่างไรก็ตามขนาดที่เหมาะสมของมิติพื้นที่ลาเทนต์โดยทั่วไปนั้นขึ้นอยู่กับชุดข้อมูลและมักถูกปรับแต่งโดยการตรวจสอบแบบข้ามซึ่งใช้เวลานาน ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงนำเสนอให้ใช้ความสามารถของวิธีการเรียนรู้แบบรวมกลุ่มเพื่ออำนวยความสะดวกในการเลือกไฮเปอร์พารามิเตอร์และปรับปรุงประสิทธิภาพการแนะนำ ผลลัพธ์ของระบบผู้แนะนำได้มาจากการรวมผลการทำนายของแบบจำลองการแยกค่าเอกฐานหลายโมเดลที่สร้างจากกระบวนการเรียนรู้ที่มีขนาดของมิติพื้นที่ลาเทนด์ที่แตกต่างกัน ผลการทดลอง โดยอิงจากชุดข้อมูลมูฟวี่เลนขนาดหนึ่งแสนแถว มูฟวี่เลนขนาดหนึ่งล้านแถว บุ๊คครอสซิง และ ฟิล์มทรัสท์ แสดงให้เห็นว่าเทคนิคที่นำเสนอนี้มีประสิทธิภาพดีกว่าเทคนิคการแยกค่าเอกฐานที่ปรับแต่งแล้วในแง่ของค่า RMSE และ MAE อีกเวลาในการสร้างแบบจำลองการแนะนำก็ลดลงเนื่องจากไม่ต้องการเวลาสำหรับกระบวนการบรูตฟอรซ์เพิ่มเติมเพื่อหาขนาดที่เหมาะสมของขนาดมิติพื้นที่ลาเทนต์ นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังระบุว่าการเรียนรู้แบบรวมกลุ่มที่ให้ความสำคัญกับพื้นที่ลาเทนต์มิติต่ำทำให้เกิดลักษณะทั่วไปที่ดีกว่า | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630631029 วศิน จิโนปง.pdf | 1.4 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.