Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78614
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorหทัยกาญจน์ เชาวนพูนผล-
dc.contributor.authorธนัญญา บุญอินen_US
dc.date.accessioned2023-08-07T00:31:10Z-
dc.date.available2023-08-07T00:31:10Z-
dc.date.issued2022-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78614-
dc.description.abstractThere are a lot of inappropriate advertising of dietary supplements. Consumers without advertising media literacy shall become victims of advertising. Village health volunteers (VHVs) are able to access consumers; therefore, they need to have media literacy skills so that they can monitor false health products, communicate with and warn consumers. Method: The research was conducted on the basis of a mixed method design, divided into 2 phases. The 1st phase was conducted in the form of a qualitative research design using an in-depth study to investigate the pattern of how VHVs of Namuen district monitor illegal advertising of drug and dietary supplements. Two groups of discussion were available, namely, the group of VHVs working on consumer protection and the group of Namuen district public health officers responsible of consumer protection. Data obtained were analyzed using content analysis. The 2nd phase was conducted in the form of a survey research design to seek VHVs’ media literacy levels and factors affecting media literacy of VHVs. A questionnaire was used to collect data from the sample consisting of 168 VHVs of Namuen district. Results: The situation about the use of drug and dietary supplements in Namuen district revealed that people accessed those advertisements. Most older adults perceived information about drug or dietary supplement advertising from listening to community radio. They bought drug when they would like to relieve from their existing illness or would like to nourish their health to be stronger. The monitoring of advertising in Namuen district was implemented with the collaboration of agencies at district and provincial levels, i.e. Namuen Hospital, District Public Health Office, and Nan Provincial Public Health Office. They work collaboratively with minor healthcare service centers lie sub-district health promoting hospitals or community healthcare centers and VHVs. VHVs mentors oversee and assign VHVs to perform their duty in monitoring the use of drug, herbs or dietary supplements sold in communities since VHVs are people living in the areas and know movements in their communities. VHVs’ media literacy level of illegal drug and dietary supplement advertising was 9.55 ±2.70 from the total score of 15. Factors affecting VHVs’ media literacy with statistical significance were age, levels of education, media exposure behavior, belief in internal locus of control, knowledge and understanding about advertising, and health literacy (p-value< 0.05). Conclusion: The group of people who play an important role in monitoring false advertisements of drug and dietary supplements in communities is VHVs. VHVs possess media literacy skills, making them able to monitor illegal advertisements. Knowledge support, being promoted to have belief in internal locus of control, and appropriate media exposure would help VHVs increase their media literacy skills.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินการรู้เท่าทันสื่อโฆษณายาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ผิดกฎหมายของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) อําเภอนาหมื่น จังหวัดน่านen_US
dc.title.alternativeThe Assessment of media literacy on illegal advertising of drug or dietary supplement in village health volunteers, Namuen District, Nan Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโฆษณา--ยา-
thailis.controlvocab.thashอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน- -นาหมื่น (น่าน)-
thailis.controlvocab.thashอาหารเสริม-
thailis.controlvocab.thashอาสาสมัครสาธารณสุข- -นาหมื่น (น่าน)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการโฆษณาที่ไม่ถูกต้องในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเป็นจำนวนมาก ผู้บริโภคขาดการรู้เท่าทันสื่อโฆษณา ส่งผลให้ผู้บริโภคตกเป็นเหยื่อโฆษณา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สามารถเข้าถึงผู้บริโภค จึงต้องมีทักษะการรู้เท่าทันโฆษณา สามารถเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ถูกต้อง สื่อสารเตือนภัยให้แก่ผู้บริโภค วิธีดำเนินการวิจัย : รูปแบบงานวิจัยเป็นแบบผสมผสานดำเนินการวิจัย เป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษารูปแบบการเฝ้าระวังการโฆษณายาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ผิดกฎหมาย ของ อสม. อำเภอนาหมื่น ในเชิงลึก ใช้การสนทนากลุ่ม จำนวน 2 กลุ่ม คือกลุ่มตัวอย่าง อสม. ผู้ปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค และเจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขอำเภอนาหมื่นที่รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภค วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา การวิจัยระยะที่ 2 เป็น การวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อหาระดับการรู้เท่าทันสื่อของ อสม.และหาปัจจัย ที่ส่งผลต่อการรู้เท่าทันสื่อ ของ อสม. โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง อสม. อำเภอนาหมื่น จำนวน 168 คน ผลการวิจัย : สถานการณ์การใช้ยาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในอำเภอนาหมื่น ประชาชนมีการเข้าถึงข้อมูลโฆษณา ในกลุ่มผู้สูงอายุส่วนใหญ่ทราบข้อมูลการโฆษณายาหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจากการรับฟังวิทยุชุมชน มีการซื้อบริโภคเพื่อต้องการหายจากภาวะเจ็บป่วยที่ตนเองเป็นอยู่ หรือต้องการบำรุงร่างกายให้แข็งแรง การเฝ้าระวังการโฆษณาในอำเภอนาหมื่น เป็นการทำงานร่วมกันกับหน่วยงานในระดับอำเภอและจังหวัด ได้แก่ โรงพยาบาลนาหมื่น สำนักงานสาธารณสุขอำเภอและสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน มีการทำงานประสานกันกับสถานบริการระดับรอง คือ รพ.สต. หรือ สสช. และ อสม. โดยมีพี่เลี้ยง อสม. เป็นผู้ดูแลและมอบหมายงานให้แก่ อสม. ซึ่ง อสม. มีหน้าที่ในการช่วยเฝ้าระวัง การใช้ยา สมุนไพร หรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีการขายในชุมชน เนื่องจาก อสม. เป็นคนในชุมชนอาศัยอยู่ในพื้นที่จะทราบความเคลื่อนไหวต่างๆ ในชุมชนระดับการรู้เท่าทันสื่อโฆษณายาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ผิดกฎหมาย ของ อสม. มีคะแนนเท่ากับ 9.55+-2.70 คะแนน จากคะแนนเต็ม 15 คะแนน ปัจจัยที่มีผลต่อการรู้เท่าทันสื่อของ อสม. อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา พฤติกรรมการเปิดรับสื่อ ความเชื่ออำนาจภายในตนเอง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการโฆษณา ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (p-value < 0.05) สรุปผลการวิจัย : อสม. เป็นกลุ่มคนสำคัญที่ช่วยในการเฝ้าระวังโฆษณายาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารผิดกฎหมายในชุมชน และการที่ อสม. มีทักษะการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาทำให้สามารถเฝ้าระวังสื่อโฆษณาต่างๆ ที่ผิดกฎหมายได้ การสนับสนุนด้านความรู้ การส่งเสริมให้ อสม. มีความเชื่ออำนาจภายในตนเองเพิ่มมากขึ้น การเปิดรับสื่อที่เหมาะสมจะช่วยพัฒนาให้ อสม. มีทักษะการรู้เท่าทันสื่อมากขึ้นen_US
Appears in Collections:PHARMACY: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601031019 ธนัญญา บุญอิน.pdf2.23 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.