Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78577
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐธยาน์ สุวรรณคฤหาสน์-
dc.contributor.advisorศิริรัตน์ ปานอุทัย-
dc.contributor.authorสุภาวดี ธิติมูลen_US
dc.date.accessioned2023-07-25T01:13:26Z-
dc.date.available2023-07-25T01:13:26Z-
dc.date.issued2022-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78577-
dc.description.abstractElderly stroke survivors with good self-management will reduce disability and complications, and prevent recurrent strokes. This correlational descriptive research investigated health literacy, selfmanagement, and the correlation between health literacy and self-management in elderly stroke survivors. The participants were 88 older persons, diagnosed with ischemic stroke for 6 months or longer, who received treatment at a Sub-District Health Promoting Hospital from August to October 2021. Research instruments for data collection included the Personal and Illness Information Questionnaire, the Health Literacy for Elderly Stroke Survivors Questionnaire, and the Self-Management for Elderly Stroke Survivors Questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s product-moment correlation. The results showed that the health literacy scores among elderly stroke survivors were moderate (x̅= 39.56, S.D. = 7.89). The self-management among elderly stroke survivors were high (x̅= 93.60, S.D.= 9.81). Health literacy was positively and statically correlated with self-management at a moderate level (r = .386, p = .001). The results of this study provide the basic information for health professionals to support selfmanagement through promoting health literacy among elderly stroke survivors for enhancing health literacy.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่รอดชีวิต จากโรคหลอดเลือดสมองen_US
dc.title.alternativeHealth literacy and self-management among elderly stroke survivorsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโรคหลอดเลือดสมอง- -ผู้สูงอายุ-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ- -โรค-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ- -การดูแล-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ- - สุขภาพและอนามัย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractผู้สูงอายุที่รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองที่มีการจัดการตนเองที่ดีจะช่วยลดความพิการ และภาระแทรกซ้อน และป้องการกลับเป็นซ้ำ การวิจัยเชิงพรรณนาความสัมพันธ์ เพื่อศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพ การจัดการตนเอง และความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองตีบตัน ตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป ที่รับบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 88 ราย ตั้งแต่เดือน สิงหาคม ถึง ตุลาคม 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลความเจ็บปวย แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้สูงอายุที่รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองและแบบสอบถามการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้สูงอายุที่รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองอยู่ระดับ ปานกลาง (x̅= 39.56, S.D. = 7.89) การจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองอยู่ระดับสูง (x̅= 93.60, S.D. = 9.81) ความรอบรู้ด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการจัดการตนเองในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r= .386) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับบุคลากรด้านสุขภาพในการสนับสนุนการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองโดยการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621231103 สุภาวดี ธิติมูล.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.