Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78575
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนทิพย์ ตั้งเอกจิต-
dc.contributor.authorอริชาภัสร์ อินต๊ะจักร์en_US
dc.date.accessioned2023-07-24T14:41:01Z-
dc.date.available2023-07-24T14:41:01Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78575-
dc.description.abstractThis study aimed to examine knowledge and understanding towards accounting preparation of the village fund committee in Phrao district, Chiang Mai province. Data collection was conducted through questionnaires distributed to 327 village fund committees who were from the total of 109 village funds in the studied area. Three committee members from each village fund were selected; each of whom was in the following positions: the chair of village fund, the treasurer, and the committee who involved in the village fund accountancy. Data obtained were, then, analyzed by the descriptive statistics i.e. frequency, percentage, and means. The findings presented that majority of the village fund committees had education background in high-school level or equivalent and were agriculturists. They had 6-10 years of experience in dealing with the village fund accountancy and attended accountancy training programs for 1-2 times. Results of the study revealed that most of the village funds in Phrao district, Chiang Mai province had implemented financing activities for 11-12 years. Each village fund had 51-100 members and 100,000-500,000 THB of annual income fund. The accountancy was performed by its own village fund committee. Overall knowledge and understanding towards accounting preparation of the village fund committees in Phrao district, Chiang Mai province was rated in low level. Among ten questions on village fund accountancy listed in an ascending order, starting from question with the minimum to the maximum number of correct answers provided, most of them were in an aspect of financial accounting. This finding corresponded to the knowledge and understanding level of the respondents towards the financial accounting which was rated at the lowest level. In comparing level of knowledge and understanding towards accounting preparation among the village fund committees who currently were in different positions, the results presented that the knowledge and understanding of those who were in positions of the chair and the treasurer were rated at low level; while the knowledge and understanding of those who were in position of the member involving in accountancy was rated at the lowest level. In addition, the findings demonstrated that in consideration of ways to perform accountancy among these village fund committees, the village funds that assigned their own committees or hired an accountant to perform this task had low level of knowledge and understanding towards accounting preparation; while the village funds that outsourced a person to perform this task had the lowest level of knowledge and understanding towards accounting preparation.In consideration of the length of accountancy experience, the findings presented that knowledge and understanding towards accounting preparation level of those with over 6 years of accountancy experience was rated at low; while knowledge and understanding towards accounting preparation level of those with 1-5 years of accountancy experience was rated at the lowest. Results of this study would, therefore, beneficial to state agencies which had a role and function in controlling and developing village and urban community fund, such as the National Village and Urban Community Fund Office and the Community Development Office. This study could be used as a guideline to enhance the knowledge and understanding towards accounting preparation among the village fund committees; enable them to perform the accountancy according to the standard required in the village fund manual; and strengthen the capacities in fund management among the committees.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความรู้และความเข้าใจที่มีต่อการจัดทำบัญชีของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeKnowledge and understanding towards accounting preparation of the village fund committees in Phrao District, Chiang MaiProvinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง -- พร้าว (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashสินเชื่อชนบท -- พร้าว (เชียงใหม่)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้และความเข้าใจที่มีต่อการจัดทำบัญชีของ คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม จากคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน อันประกอบด้วย ผู้ดำรงตำแหน่งประธานกองทุนหมู่บ้าน เหรัญญิก และกรรมการกองทุนหมู่บ้านที่มีส่วนเกี่ยวข้องรับผิดชอบในการจัดทำบัญชี ตำแหน่งละ 1 คน รวม 3 คน จากกองทุนหมู่บ้านอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 109 กองทุน รวมทั้งสิ้น 327 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได่แก่ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่า คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทียบเท่า มีอาชีพกษตรกร มีประสบการณ์ในการทำงานด้านบัญชีกองทุนหมู่บ้าน ระหว่าง 6-10 ปี และ ได้ฝึกอบรมด้านการจัดทำบัญชีจำนวน 1-2 ครั้ง นอกจากนี้กองทุนหมู่บ้าน อำเภอ พร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ส่วนใหญ่ดำเนินกิจกรรมทางการเงิน มีระยะเวลาในการดำเนินงาน 11-20 ปี มี จำนวนสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน 51-100 คน รายได้ของกองทุนหมู่บ้านคือ 100,000- 50,000 บาท ต่อปี โดยมีคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านเป็นผู้จัดทำบัญชีเอง ทั้งนี้ คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ มีความรู้และความเข้าใจต่อ การจัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้านโดยเฉลี่ยในภาพรวมอยู่ในระดับน้อย เมื่อเรียงลำดับประเด็นคำถาม เกี่ยวกับการจัดทำบัญชีกองทุนหมู่บ้านจากผู้ตอบถูกน้อยที่สุดไปมากที่สุด 10 อันดับ พบว่า ส่วนใหญ่ เป็นประเด็นคำถามในเรื่อง การจัดทำงบการเงิน ซึ่งสอดคล้องกับคะแนนเฉลี่ยร้อยละความรู้และความ เข้าใจในเรื่องดังกล่าวอยู่ในระดับน้อยที่สุด เมื่อเปรียบเทียบระดับความรู้และความเข้าใจที่มีต่อการ จัดทำบัญชีของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน จำแนกตามตำแหน่งงานที่ดำรงอยู่ในปังจุบันพบว่าคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านที่ดำรงตำแหน่งประธานกองทุนหมู่บ้านและเหรัญถูกอยู่ในระดับน้อย ส่วนกรรมการกองทุนหมู่บ้นที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการ จัดทำบัญชีมีความรู้ความเข้าใจการจัดทำบัญชี ในระดับน้อยที่สุด นอกจากนี้ผลการศึกษายังพบว่า เมื่อเปรียบเทียบระดับความรู้ความเข้าใจที่มีต่อการจัดทำ บัญชีคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน จำแนกตามวิธีการทำบัญชีกองทุนหมู่บ้าน พบว่ากองทุนหมู่บ้าน ที่มีคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านเป็นผู้จัดทำเอง หรือจ้างพนักงานบัญชีมาเป็นพนักงานมีความรู้ความ เข้าใจระดับน้อย ในขณะที่กองทุนหมู่บ้านที่จ้างบุคคลภายนอกมาจัดทำบัญชี คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้านมีความรู้ความเข้าใจระดับน้อยที่สุด ส่วนการเปรียบเทียบระดับความรู้ความเข้าใจที่มีต่อการจัดทำบัญชีของกณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงานด้านบัญชีพบว่าผู้มีประสบการณ์มากกว่า 6 ปี มีระดับ ความรู้ความข้าใจอยู่ในระดับน้อย ในขณะที่ผู้มีประสบการณ์ในการทำงาน 1-5 ปี มีระดับความรู้และ ความเข้าใจในระดับน้อยที่สุด ดังนั้นจากผลการศึกษาครั้งนี้ย่อมเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานของรัฐที่มีบทบาทหน้าที่กำกับ ดูแลและ พัฒนากองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง เช่น สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง สำนักงานพัฒนาชุมชน เป็นแนวทางในการพัฒนาความรู้และความเข้าใจของคณะกรรมการกองทุน หมู่บ้านให้มีการทำบัญชีให้ได้ตามมาตรฐานคู่มือบัญชีกองทุนหมู่บ้าน และพัฒนาศักยภาพในการ บริหารจัดการกองทุนให้มากยิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.