Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78574
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิสุทธร จิตอารี-
dc.contributor.authorสุรางคณา ใจญาณen_US
dc.date.accessioned2023-07-24T14:27:32Z-
dc.date.available2023-07-24T14:27:32Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78574-
dc.description.abstractThis study aimed to examine marketing mix factors of traditional retails and modern trades affecting consumers towards purchasing jasmine rice in Mueang Chiang Mai district, Chiang Mai province. Findings of this study were then used for product/service planning and improving processes as well as formulating marketing strategies and activities in response to the need of consumers and the current competition. According to the convenience sampling method, 450 consumers who purchased jasmine rice for self-consumption from traditional retails and modern trades were selected to complete the online survey, of which questions were developed from theories and studies related. Data obtained were analyzed by the following statistics: frequency, percentage, and T-test. In general information section, the results demonstrated that 68.7% of respondents were female and 31.3% were male. The majority or 44.2% was in the age of 23-40 years old and 82.9% of them had education background in a lower level than bachelor's degree. 60% of them held married status and 34.0%, which was considered as the majority, worked as private company employee. 55.3% of respondents earned monthly income at the average amount of 15,001-30,000 Baht and 85.6% of them resided in Mueang Chiang Mai district. Results of the study on consumer's behavior towards purchasing jasmine rice presented that most respondents purchased the jasmine rice at once in month. In each time, they averagely purchased 3 kilograms of the jasmine rice, each of which costed around 36-40 Baht. For those who purchased the jasmine rice from the traditional retails, they purchased it at a grocery store; in the meanwhile, for the those who purchased the jasmine rice from the modern trades, they purchased it at a branch of mini-Big C. Brand of the jasmine rice that they frequently purchased for self-consumption the most was Mah Boonkrong with the reason of rice quality (cleanliness; impurity free; and being fluffy when cooked). The respondents agreed that in the process of selecting purchasing channel, they themselves was the most influencing person; while discount was the most influencing promotion. The most frequently found problem in purchasing the product from traditional retails was a lack of promotion; while the most frequently found problem in purchasing product from modern trades was a lack of parking area.Hereafter were shown results of the comparative study on level of opinion towards marketing mix factors of traditional retails and modern trades affecting the consumers towards purchasing jasmine rice in Mueang Chiang Mai district. For the purchase of jasmine rice from the modern trades, the respondents rated their opinion at high level to marketing mix factors namely physical evidence and presentation, product, price, promotion, process, and people; but at moderate level to place factor. For the purchase of jasmine rice from the traditional retails the respondents rated their opinion at high level to marketing mix factor namely people; but at moderate level to process, price, physical evidence and presentation, and place. In this case, product and promotion factors were rated at low level.Regarding the comparative study on level of opinion towards marketing mix factors of traditional retails and modern trades among different groups of respondents, the findings presented that among the respondents who were male; who were under 2 3 years old; who were single/widow/divorced; and who resided in Mueang Chiang Mai district, their opinions towards people factors in both traditional retails and modern trades were indifferent; but for other factors, the differences were found at 0.05 level of statistical significance. For the respondents who resided in an area outside Mueang Chiang Mai district, their opinions towards process factors in both traditional retails and modern trades were indifferent; but for other factors, the differences were found at 0.05 level of statistic significance. For the respondents who were female; who were over 41 years old; and who were marred, their opinions towards all marketing mix factors of both traditional retails and modern trades were differently found at 0.05 level of statistical significance.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเปรียบเทียบส่วนประสมการตลาดของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมและสมัยใหม่ที่มีผลต่อผู้บริโภคในการซื้อข้าวหอมมะลิในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeComparison of marketing mix of traditional retails and modern trades affecting consumers towards purchasing jasmine rice in Mueang Chiang Mai Districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการตลาด -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashข้าว-
thailis.controlvocab.thashร้านค้าปลีก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้บริโภคข้าวหอม มะลิในการตัดสินใจเลือกช่องทางการค้าแบบดั้งเดิมและสมัยใหม่ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่และ เพื่อนำผลการศึกษาไปใช้ในการวางแผนและพัฒนาปรับปรุงสินค้าและบริการ ตลอดการกำหนด กลยุทธ์และกิจกรรมทางการตลาดให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคและการ แข่งขัน เก็บ ข้อมูลด้วยวิธีการสุ่มแบบตามสะดวก (Convenience sampling) โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ สอบถามจากผู้บริโภคจำนวน 450 คน ที่ซื้อข้าวหอมมะลิเพื่อการบริโภคเองจากช่องทางการค้าแบบ ดั้งเดิมและแบบสมัยใหม่ที่จำหน่ายข้าวหอมมะลิในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งแบบสอบถามได้พัฒนา จากการรวบรวมข้อมูลจากทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องนำมาประยุกต์เป็นคำถาม วิเคราะห์ ข้อมูลที่ ได้ด้วยค่าสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และ T-Test ผลการศึกษาข้อมูลทั่วไป พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง ร้อยละ 68.7 และเพศชาย ร้อยละ 31.3 ส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วงระหว่าง 23 - 40 ปี ร้อยละ 44.2 โดยมีระดับการศึกษาต่ำกว่า ปริญญาตรี ร้อยละ 82.9 สถานภาพ สมรสแล้ว ร้อยละ 60.0 มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชนมาก ที่สุด ร้อยละ 34.0 รายได้เฉลี่ย 15,001 - 30,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ รร.3 และเป็นผู้ที่อาศัยในเขต อ.เมืองเชียงใหม่ ร้อยละ 85.6 ผลการศึกษาด้านพฤติกรรมการซื้อข้าวหอมมะลิของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้ตอบ แบบสอบถามซื้อข้าวหอมมะลิ 1 ครั้งเดือน มากที่สุด โดยปริมาณที่ซื้อในแต่ละครั้งโดยเฉลี่ยเท่ากับ 3 กิโลกรัม ราคาที่ซื้อในแต่ละครั้งโดยเฉลี่ยเท่ากับ 36 - 40 บาทต่อกิโลกรัม สถานที่ซื้อหากเป็นช่องทางการค้าแบบดั้งเดิมจะซื้อจากร้านขายของชำทั่วไป แต่หากเป็นช่องทางการค้าแบบสมัยใหม่ จะซื้อจาก ร้านมินิบิ๊กซีมากที่สุด สำหรับขี่ห้อของข้าวหอมมะลิที่ซื้อเพื่อบริโภคเปีนประจำมากที่สุดคือ มาบุญ ครอง โดยเหตุผลสำคัญที่เลือกซื้อข้าวหอมมะลิคือ คุณภาพของข้าว (สะอาด ไม่มีสิ่งปลอมปน หุงขึ้น หม้อ ส่วนผู้ที่มีส่วนต่อการตัดสินใจเลือกช่องทางการซื้อข้าวหอมมะลิคือ ผู้ตอบแบบสอบถามเอง สำหรับวิธีการส่งเสริมการขายที่มีผลต่อการเลือกช่องทางการซื้อข้าวหอมมะลิคือ การลดราคา ส่วน ปัญหาที่ผู้บริโภคพบในการซื้อข้าวหอมมะลิจากช่องทางการค้าแบบดั้งเดิมมากที่สุดคือ ไม่มี โปรโมชั่น ส่วนปัญหาที่ผู้บริโภคพบในการซื้อข้าวหอมมะลิจากช่องทางการค้าแบบสมัยใหม่มาก ที่สุดคือ ไม่มีที่จอดรถ ผลการศึกษาการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการ ซื้อข้าวหอมมะลิจากช่องทางการค้าแบบดั้งเดิมและสมัยใหม่ พบว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ในการซื้อข้าวหอมมะลิจากช่องทางการค้าแบบสมัยใหม่ที่มีความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยมาก ประกอบด้วยปัจจัยด้านการสร้างและนำสนอลักษณะทางกายภาพ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการ ส่งเสริมการตลาด ด้านกระบวนการ และด้านบุคลากร ส่วนค้านช่องทางการจัดจำหน่าย มีระดับความ คิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยปานกลาง ส่วนปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการซื้อข้าวหอมมะลิจากช่องทางการค้าแบบดั้งเดิมในระดับเห็นด้วยมาก ได้แก่ ปัจจัยด้านบุคลากร และมีระดับความ คิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยปานกลาง ได้แก่ ปัจจัยด้านกระบวนการ ด้านราคา ด้านการสร้างและ นำเสนอลักษณะทางกายภาพ และด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ส่วนปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ และด้านการ ส่งเสริมการตลาด มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยน้อย ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดระหว่างช่องทาง การค้าแบบดั้งเดิมกับแบบสมัยใหม่แล้วพบว่า เพศชาย ผู้ที่อายุน้อยกว่า 23 ปี ผู้ที่มีสถานภาพโสด หม้ายหรือหย่า และผู้ที่พักในเขตอ.เมืองเชียงใหม่ มีความคิดเห็นต่อด้านบุคลากรของช่องทางการค้า ทั้งสองแบบไม่แตกต่างกัน ส่วนความคิดเห็นต่อด้านอื่นๆ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 ส่วนผู้ที่พักนอก เขตอ.เมืองเชียงใหม่ มีความคิดเห็นต่อด้านกระบวนการของช่องทาง การค้าทั้งสองแบบ ไม่แตกต่างกัน ส่วนความคิดเห็นต่อด้านอื่นๆ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 สำหรับเพศหญิง ผู้ที่อายุระหว่าง 23-40 ปี ผู้ที่อายุ 41 ปีขึ้นไป และผู้ที่มีสถานภาพสมรส แล้ว มีความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดของช่องทางการค้าทั้งสองแบบ แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทุกด้านen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532031 สุรางคณา ใจญาณ.pdf2.74 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.