Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78559
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยวัฒน์ โตอนันต์-
dc.contributor.advisorรัชดาวรรณ ชีวังกูร-
dc.contributor.authorฐิติมา วงษ์วานen_US
dc.date.accessioned2023-07-22T14:36:38Z-
dc.date.available2023-07-22T14:36:38Z-
dc.date.issued2021-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78559-
dc.description.abstractBlack rot disease in orchid is a common yet an important disease in commercial orchid cultivation. Orchid industry is highly affected by black rot disease and which causes massive yield losses. In this research, black rot disease of Rhynchostylis gigantea from four commercial orchid nurseries (Mae Tang, Saraphi, Mae Rim and Mueang from Chiang Mai, Thailand) during the rainy season (July to September) of 2019 was investigated. The survey revealed the pathogen of black rot discase in Rhynchostylis gigantea and successful controlling measures of the disease. The prominent symptoms of black rot in Rhynchostylis gigantea were dark lesions on root tips, stems and roots causing crown rot, stem rot and root rot. Leaf spot symptoms were first appeared as irregular yellow spots developed in to water-soaked lesions followed by softened brown and black rot lesions. Hence, black rot causes the leaf fall and slow plant growth. Severe infections affect the flowers by initiating the small lesions on flowers and later turns in to water-soaked spots that rapidly expand into large, wet, translucent rots. One hundred fifty-symptomatic samples were randomly collected from selected nurseries. One hundred eighty-five-Pythiaceae isolates were obtained from hyphal tip isolation of symptomatic samples. All isolates were tested for the pathogenicity through detached leaf methods and Twelve-Pythiaceae isolates showed strong pathogenicity. The fungal pathogens were classified morphologically into three genera viz. nine isolates of Phytophthora, two isolates of Pythium and one isolate of Phytopythiun. The mycelial growth and the sporulation ability of the isolates were studied on six different media; Potato dextrose agar (PDA), Potato carrot agar (PCA), V8 juice agar (V8A), Cornmeal agar (CMA), Carrot agar (CA) and Oatmeal agar (OA). The results showed that higher mycelial growth and aerial mycelia production of 12 isolates were obtained using PDA, V8A, OA and PCA. Furthermore, PDA and V8A were found to be the best media for sporulation of nine Phytophthora isolates. Four Phytophthora sp. isolates: MU-OR3, MU- OR5, MT-OR7 and MR-OR9 showed strong pathogenicity with symptomatic rates of 67.372- 69.940 % after five days of inoculation. The plant root inoculation from zoospore suspension of above selected isolates induced stem rot, softening, and root rot by more than 50% of symptomatic rates within 30 days. These isolates were classified as level 3 severity. The isolates MU-OR3, MU- OR5, MT-OR7 and MR-OR9 were identified by morphology together with multi-gene phylogeny. The primers of internal transcribed spacer (ITS) and cytochrome c oxidase subunit I (COX1) were ITS5/ITS4 and OomCoxI Levup /Fm85mod respectively. Based on taxonomy and phylogeny, P. palmivora was identified and confirmed as the causal agent of black rot disease on R. gigantea. Moreover, this is a novel host record of P. palmivora causing black rot on R. gigantea in Chiang Mai, Thailand. The sensitivity of Phytophthora palmivora isolates: MU-OR3, MU-OR.5, MT-OR7 and MR- OR9 towards the selected fungicides was tested using poisoned food technique. Higher efficacy towards the inhibition of the pathogen was obtained from metalaxyl, dimethomorph and chlorothalonil. Mean ECso values of the mycelial growth inhibition of metalaxyl, dimethomorph and chlorothalonil are 0.25+ 0.03, 0.38t 0.03 and 1.93 - 0.43 ug/ml respectively. To investigate the control of black rot disease, seven fungicides were used at the recommended concentrations. The protective activity was tested by spraying the fungicide 24 h before the inoculation of P. palmivora (MU-OR7) using mycelial plug method and the curative activity was tested by spraying the fungicide 24 h after the inoculation. The leaves of 1-2-year-old R. gigantea were treated separately to assess the protective activity and the curative activity. The results found that the disease severity of black rot disease on orchid leaves was dramatically reduced by metalaxyl and dimethomorph with the application of 24h before the inoculation of recommended concentrations. The percentage inhibitions of disease lesions by metalaxyl and dimethomorph after 72 hr of inoculation are 69.63% and 70.37 %. In our study, metalaxyl exhibited both curative and protective activities on detached orchid leaves. However, metalaxyl shows higher protective activity and less effective curative activity.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการควบคุมโรคเน่าดำของกล้วยไม้สกุลช้างด้วยสารกำจัดเชื้อราen_US
dc.title.alternativeControlling Black Rot Disease of Rhynchostylis gigantea by fungicideen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashกล้วยไม้ -- โรคและศัตรูพืช-
thailis.controlvocab.thashสารฆ่าเชื้อรา-
thailis.controlvocab.thashโรคพืช-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคเน่าดำของกล้วยไม้เป็นโรคที่พบได้บ่อยในการปลูกกล้วยไม้เชิงการค้า ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญ ที่ส่งผลกระทบต่อการปลูกกล้วยไม้ปีนอย่างมาก ในการวิจัยในครั้งนี้ได้ทำการสำรวจโรดเน่าดำของ กล้วยไม้สกุลช้าง (Rhynchostylis gigantea) ในจังหวัดเชียงใหม่จำนวน 4 พื้นที่ ได้แก่ อ.แม่แตง อ. สารภี อ. แม่ริม และ อ. เมือง ในช่วงฤดูฝน ตั้งแต่เดือนกรกฏาคมถึงเดือนกันยายน 2563 พบลักษณะ อาการของโรคที่สำคัญคือ รากเป็นแผลสีน้ำตาลเข้มถึงดำ และเน่าถอดปลอก ลำต้นเน่า อาการบนใบ เริ่มแรกพบแผลจุดใสน้ำน้ำสีเหลืองต่อมาแผลขยายถุกลามเปีนวงกว้าง และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม ถึงดำ แผลขยายลุกลามอย่างรวดเร็วไปขังใบที่อยู่บริเวณยอด ส่งผลให้ใบอ่อนหลุดร่วง ชะงักการ เจริญเดิบโต อาการบริเวณก้นช่อดอกพบแผลสีน้ำตาลเข้มถึงดำ กลืบดอกเป็นแผลจุดสีน้ำตาล มีสี เหลืองล้อมรอบแผล และลุกลามอย่างรวดเร็วส่งผลให้ดอกเน่าในที่สุด จากการสุ่มเก็บตัวอย่างจากใบ ลำต้น และรากที่แสดงอาการของโรค รวม 150 ตัวอย่าง มาทำการแยกเชื้อบริสุทธิ์ด้วยวิธีการตัดปลาย เส้นใย (hyphal tip) สามารถแยกเชื้อราในวงศ์ Pythiacae ได้ทั้งหมด 185 ไอโซเลท เมื่อนำมาพิสูจน์ ความสามารถในการก่อให้เกิดโรคด้วยวิธี detached Ieave พบเชื้อราที่ก่อให้เกิดโรครุนแรงรวม 12 ไอ โซเลท จึงนำมาศึกยาการจัดจำแนกชนิดโดยอาศัยลักษณะทางสัณฐานวิทยาเบื้องด้น สามารถจำแนก เชื้อราได้ 3 สกุล ได้แก่ Phytophthora จำนวน 9 ไอโซเลท Pythium จำนวน 2 ไอโซเลท และ Phytopythium จำนวน 1 ไอโซเลท เมื่อนำเชื้อราทั้ง 12 ไอโซเลท เลี้ยงบนอาหารเลี้ยงเชื้อ จำนวน 6 ชนิด ได้แก่ Potato dextrose agar (PDA), Potato carrot agar (PCA), V8 juice agar (V8A), Cornmeal agar (CMA), Carrot agar (CA) และ Oatmeal agar (OA) ผลการศึกษาพบว่า อาหารทีส่งเสริมการ เจริญเติบโตของเชื้อราทั้ง 12 ไอโซเลท ได้ดีที่สุด คือ PDA, V8A, 0A และ PCA ตามลำดับ และพบว่า เชื้อรา Phytophthora จำนวน 9 ไอโซเลท สามารถสร้างสปอร์บนอาหาร PDA และ V8A ได้ เมื่อ คัดเลือกเชื้อรา Phytophthora sp. จำนวน 4 ไอโซเลท ได้แก่ MU-OR3, MU-OR5, MT-OR7 และ MR- OR9 ที่เป็นสายพันธุ์ที่ก่อให้เกิดโรคสูงสุดภายหลังการปลูกเชื้อเป็นเวลา 5 วัน โดยมีเปอร์เซ็นต์ความ เสียหายของพื้นที่ใบ 67.372 - 69.940 เปอร์เซ็นต์ และทำให้เกิดอาการเน่าที่ราก ทำให้รากเปลี่ยนเป็นสี น้ำตาลเข้มถึงดำ เนื้อเยื่อของรากเน่าอ่อนนิ่ม และเน่าถอดปลอก มากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ จัดเป็นระดับ ความรุนแรงที่ระดับ 3 ภายหลังการปลูกเชื้อโดยใช้ซูโอสปอร์แขวนลอยเป็นเวลา 30 วัน จึงกัดเลือก เชื้อรา ทั้ง 4 ไอโซเลทดังกล่าว มาจัดจำแนกชนิดด้วยเทคนิคทางอณูวิทยาโดยเปรียบเทียบลำดับ นิวคลีโอไทด์ของยืนตรงตำแหน่ง internal transcribed spacer (ITS) และ cytochrome c oxidase subunit I (COX1) โดยใช้คู่ไพรเมอร์ ITSS/ITS4 และ OomCoxI Levup /Fm85mod ตามลำดับ พบว่า เชื้อราทั้ง 4 ไอโซเลท ที่เป็นสาเหตุของโรคเน่าดำของกล้วยไม้สกุลช้างในจังหวัดเชียงใหม่จัดเป็นเชื้อ รา P. palmivora ซึ่งนับเป็นการรายงานการพบโรคเน่าดำของกล้วยไม้สกุลช้างเป็นครั้งแรกใน ประเทศไทย การทดสอบความไวหรือการตอบสนอง (sensitivity) ของเชื่อรา P. palmivora ไอโซเลท MU- OR3, MU-OR5, MI-OR7 และ MR-OR9 ต่อสารป้องกันกำจัดเชื้อราบางชนิดที่ผสมใบอาหารเลี้ยง เชื้อราด้วยวิธี poisoned food พบว่าสาร metalaxyl, dimethomorph และ chlorothalonil มีประสิทธิภาพ ในการยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อรา โดยมีค่า EC50 เท่ากับ 0.25 + 0.03, 0.38 ㅗ 0.03 และ 1,93 0.43 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ สำหรับการทดสอบประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดเชื้อรา บางชนิด ในการควบคุมโรคเน่าดำของกล้วยไม้ โดยการฉีดพ่นสารป้องกันกำจัดเชื้อรา จำนวน 7 ชนิด ตามอัตราแนะนำ เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ก่อนปลูกด้วยขึ้นวุ้นของเชื้อรา P. palmivora (MU-OR7) วางลง บนตำแหน่งที่ถูกทำแผลบนใบกล้วยไม้สกุลช้างอายุ 1-2 ปี เพื่อทดสอบประสิทธิภาพในการป้องกัน โรค (protcctive activiy) และฉีดพ่นสารป้องกันกำจัดเชื้อราภายหลังการปลูกเชื้อเป็นเวลา 24 ชั่วโมง เพื่อทดสอบประสิทธิภาพในการควบคุมโรค (curative activiy) จากผลการทดสอบพบว่า การฉีดพ่น สาร mctalaxyl และ dimcthomorph เป็นเวลา 24 ชั่วโมงก่อนการปลูกเชื้อราสาเหตุโรค สามารถ ป้องกันการเกิดโรคได้เท่ากับ 69.63 และ 70.37 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ภายหลังการปลูกเชื้อเป็นเวลา 72 ชั่วโมง สำหรับการฉีดพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดเชื้อราภายหลังการปลูกเชื้อราสาเหตุโรค พบว่า mctalaxyl มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคได้ดีกว่าสารชนิคอื่น โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งแผลโรคอยู่ที่ 39.95 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม จากการศึกยาในครั้งนี้พบว่า mctalaxyl มี ประสิทธิภาพในการป้องกันและควบคุมโรคเน่าดำในกล้วยไม้ แต่มีประสิทธิภาพค่อนข้างต่ำในการ ควบคุมโรคเมื่อเทียบกับการฉีดพ่นเพื่อป้องกันการเกิดโรคen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610831040 ฐิติมา วงษ์วาน.pdf5.84 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.