Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78548
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชมพูนุท เกษมเศรษฐ์-
dc.contributor.authorธนวัฒน์ มาก๋าen_US
dc.date.accessioned2023-07-22T08:26:25Z-
dc.date.available2023-07-22T08:26:25Z-
dc.date.issued2023-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78548-
dc.description.abstractThis research proposed a mathematical model for planning the intrahospital patient transfer system using bi-level decision making. The first level is to locate patient transfer service stations from the set of possible locations. The objective of this level is to minimize the number of stations and the sum of patient access time when patients must receive the service within the time restriction. The solution from the first level provides the locations of the service stations. Then this solution is applied during the second level for allocating necessary resources, i.e., staffs, wheelchairs, stretchers, and portable oxygen tanks, while the objective of the second level is to minimize the total cost. In addition, the busy fractions and the chance constraints method were applied to maintain the confidence level in the second level formulation. The proposed model was evaluated by solving numerical examples with different sizes. Then results from the proposed model were compared with the results solving by the goal programming technique. The results of the test problems presented that the proposed model could provide the appropriate solutions for all test problems including the small, medium, and large sizes as 10, 30, and 50 demand-nodes, respectively. While applying the goal programming technique, only the small-size problem can be solved and delivered the solution.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวางแผนระบบการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยภายในโรงพยาบาลด้วยตัวแบบการตัดสินใจแบบสองระดับen_US
dc.title.alternativeIntrahospital patient transfer system planning using bi-level decision modelen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วย -- การจัดการ-
thailis.controlvocab.thashการส่งต่อผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashการหาค่าเหมาะที่สุดเชิงคณิตศาสตร์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้นำเสนอการวางแผนระบบการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยภายในโรงพยาบาลด้วยการหาค่าที่เหมาะสมด้วยตัวแบบคณิตศาสตร์ โดยเลือกใช้รูปแบบการตัดสินใจแบบสองระดับ ระดับแรกเป็นการตัดสินใจเพื่อจัดตั้งสถานีให้บริการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยพิจารณาจากจุดที่มีความเป็นไปได้ในการจัดตั้ง วัตถุประสงค์ของการตัดสินใจคือการวางแผนเพื่อให้สามารถเข้าถึงผู้ป่วยได้อย่างรวดเร็ว และมีจำนวนสถานีให้บริการน้อยที่สุด โดยผู้ป่วยต้องได้รับบริการภายในเวลาที่กำหนด ผลลัพธ์การตัดสินใจระดับแรกจะทราบจุดที่ต้องจัดตั้งสถานีให้บริการ จากนั้นนำผลลัพธ์มาพิจารณาในการตัดสินใจระดับที่สอง เป็นการจัดสรรทรัพยากรที่เกี่ยวข้องต่อการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ได้แก่ พนักงาน รถเข็น เปลนอน และถังออกซิเจน ให้กับแต่ละสถานีให้บริการภายใต้วัตถุประสงค์การเกิดต้นทุนที่ต่ำที่สุด โดยพิจารณาสมการเงื่อนไขเชิงโอกาสของสัดส่วนความไม่ว่าง เพื่อให้สามารถจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสมภายใต้ระดับความเชื่อมั่นที่กำหนด ตัวแบบคณิตศาสตร์ที่นำเสนอจะใช้ทดสอบกับตัวอย่างปัญหาเชิงตัวเลขขนาดต่าง ๆ เพื่อหาคำตอบที่เหมาะสม และเปรียบเทียบคำตอบที่ได้กับคำตอบที่ได้จากการตัดสินใจแบบหลายวัตถุประสงค์ในครั้งเดียวด้วยวิธีการเชิงเป้าประสงค์ จากการทดสอบหาผลลัพธ์ด้วยการใช้ปัญหาเชิงตัวเลข พบว่า ตัวแบบคณิตศาสตร์ที่สร้างขึ้นภายใต้วิธีการหาคำตอบด้วยการตัดสินใจแบบสองระดับสามารถนำไปใช้ในการหาคำตอบที่เหมาะสมในการวางแผนระบบได้ในทุกตัวอย่างปัญหาที่นำมาทดสอบ ซึ่งในงานวิจัยนี้มีการใช้ปัญหาขนาดเล็ก (จุดความต้องการ 10 จุด) ขนาดกลาง (จุดความต้องการ 30 จุด) และ ขนาดใหญ่ (จุดความต้องการ 50 จุด) ในขณะที่ตัวแบบคณิตศาสตร์ที่ใช้การตัดสินใจเพียงครั้งเดียวด้วยวิธีการเชิงเป้าประสงค์ สามารถหาคำตอบได้เพียงปัญหาขนาดเล็กเท่านั้นen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630631050-Thanawat Maka.pdf4.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.