Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78536
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ ลีปรีชา-
dc.contributor.authorเจิ้นคุน หลิวen_US
dc.date.accessioned2023-07-22T06:29:59Z-
dc.date.available2023-07-22T06:29:59Z-
dc.date.issued2023-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78536-
dc.description.abstractThe objectives of this study are 1) to study the economic and social development of the Hmong people at Tangzi village that changed in each era in relation to development policies of local and central governments; 2) to study the social capital that the Hmong people in Tangzi village have and use to bring about economic and social changes; 3) to learn the meaning of modernization resulting from Socio-economic changes occurred in Tang Village. The study was conducted at Tangzi village, Matang town, Wenshan city, Yunnan province, with a total of 131 households and a total population of 575 people. Emphasis was placed on qualitative research by using ethnographic data collection methods (ethnography), which is the main research methodology in anthropology. The study found that 1) The economic and social developments of the Hmong people at Tangzi Village that change in each era. It is related to the development policies of local and central governments; 2) Cultural transfer aims to create awareness and understanding of that culture in order to maintain the culture in accordance with the changing times. For Hmong embroidery, it can be considered that it is important to reflect the way of life and cultural stories of Hmong women that have been handed down from generation to generation influenced by beliefs, legends or stories and patterns that have been adapted to the era according to the needs of the consumer trend; 3) Promotion of village economic development focus on building modernization by accelerating the creation of beautiful villages. Brazil mushroom cultivation and ox fighting for toursim are the two main sources of income among the Hmong villagers.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนากับความทันสมัยในชุมชนชาติพันธุ์ม้ง อำเภอเหวินซาน มณฑลยูนนานen_US
dc.title.alternativeDevelopment and modernization in an ethnic Hmong community, Wenshan districrt, Yunnan provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashม้ง-
thailis.controlvocab.thashชาติพันธุ์วิทยา -- เอเชีย-
thailis.controlvocab.thashกลุ่มชาติพันธุ์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาพัฒนาการด้านเศรษฐกิจและสังคมของชาวม้งที่หมู่บ้านถังจื่อที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละยุค ซึ่งสัมพันธ์กับนโยบายการพัฒนาของรัฐบาลท้องถิ่นและรัฐบาลกลาง 2) เพื่อศึกษาทุนทางสังคมที่ชาวม้งในหมู่บ้านถังจื่อมีอยู่และนำมาใช้เพื่อก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม 3) เพื่อเรียนรู้ความหมายในมิติของความทันสมัยอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านถังจื่อ โดยทำการศึกษาที่หมู่บ้านถังจื่อ ตำบลหม่าถัง เมืองเหวินซาน มณฑลยูนนาน ซึ่งมีจำนวน 131 หลังคาเรือน ประชากรทั้งหมด 575 คน เน้นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการใช้วิธีการเก็บข้อมูลเชิงชาติพันธุ์วรรณนา (ethnography) ซึ่งเป็นระเบียบวิธีวิจัยหลักในทางมานุษยวิทยา ผลการศึกษาพบว่า 1) พัฒนาการด้านเศรษฐกิจและสังคมของชาวม้งที่หมู่บ้านถังจื่อที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละยุค สัมพันธ์กับนโยบายการพัฒนาของรัฐบาลท้องถิ่นและรัฐบาลกลาง 2) การถ่ายทอดวัฒนธรรมมีจุดมุ่งเน้นให้เกิดการรับรู้และเข้าใจในวัฒนธรรมนั้น ๆ เพื่อรักษาให้วัฒนธรรมอยู่คงสภาพไปตามกาลเวลาที่เปลี่ยนแปลง ผ้าปัก ม้งถือได้ว่ามีความสำคัญที่สะท้อนถึงวิถีชีวิตและเรื่องราวทางวัฒนธรรมของหญิงชาวม้งที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษจากรุ่นสู่รุ่น โดยได้รับอิทธิพลมาจากความเชื่อ ตํานาน หรือเรื่องเล่า และลวดลายที่มีการปรับประยุกต์ให้เข้ากับยุคสมัยตามความต้องการของกระแสความนิยมของผู้บริโภค ถือเป็นการนำภูมิหลังทางสังคมและวัฒนธรรมของชาติพันธุ์ที่ส่งผ่านอัตลักษณ์บนผลิตภัณฑ์ผ้าปักม้ง 3) การส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของหมู่บ้าน เน้นการสร้างความทันสมัยโดยการเร่งสร้างหมู่บ้านที่สวยงาม การเพาะเห็ดกระดุมบราซิลเพื่อขาย กับกิจกรรมชนวัวเพื่อการท่องเที่ยว นับเป็นแหล่งรายได้หลักของชาวม้งในหมู่บ้านนี้en_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Zhenkun Liu 610431009-Final.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.