Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78533
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAmporn Jirattikorn-
dc.contributor.authorKunnawut Boonreaken_US
dc.date.accessioned2023-07-22T05:51:49Z-
dc.date.available2023-07-22T05:51:49Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78533-
dc.description.abstractThe Rohingya refugee crisis has garnered international attention and concern, yet media representations often depict this community in an oversimplified and biased manner. This dissertation investigates the politics of representation and the role of the collaborative-transformative representation network in shaping narratives of the Rohingya community in Thailand. Using a mixed-methods approach, this study employs multi-cited ethnography, mobile ethnography, participant observation, and interviews with Rohingya individuals and members of three key organizations: the Burmese Rohingya Association Thailand (BRAT), White Channel, and Amnesty International Thailand (AIT). By examining how these organizations interact and collaborate with the Rohingya community, this research explores the potential for collaborative-transformative representation networks to challenge and change mainstream media representations of marginalized communities. Findings from this study reveal that the Rohingya in Thailand face derogatory portrayals in the mainstream Thai media, perpetuating harmful stereotypes and undermining their rights and well-being. Through processes of self-representation, the Rohingya community in Thailand has sought to combat discrimination and advance its cause. Collaborative efforts with organizations such as BRAT, White Channel, and AIT have enabled the Rohingya community to participate in decision-making processes and take an active role in shaping their own narratives. The collaborative-transformative representation network emerges as a valuable framework for understanding the complex interactions between the Rohingya community and various organizations working to support them. The study illustrates how the Rohingya have developed and maintained active networks in Thailand, which play a crucial role in legitimizing their presence in Thailand and providing essential support. The network comprises members with diverse backgrounds, experiences, and forms of economic, social, and cultural capital, making it important to examine the perspectives of individual organizations as well as the overall composition of the network. Utilizing multi-cited ethnography and mobile ethnography, this research explores the socio-territorial links within and outside the Rohingya community in Thailand, shedding light on everyday life practices and movement between sites. This approach allows for a nuanced understanding of how the collaborative-transformative representation network functions, and how its various components contribute to reshaping the representation of the Rohingya. This dissertation contributes to a growing body of literature on the politics of representation and the role of collaborative-transformative representation networks in shaping narratives for marginalized communities. The findings hold implications for policymakers, NGOs, and media practitioners working with refugee populations, highlighting the importance of promoting self-representation and fostering collaborative networks to challenge and counter inaccurate and biased portrayals in the mainstream media. By examining the case of the Rohingya community in Thailand, this research underscores the potential of collaborative-transformative representation networks to empower marginalized communities and work towards a more inclusive and just society.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleWhen the voiceless speak: Rohingya networks and the construction of Rohingya representation in Thailanden_US
dc.title.alternativeเมื่อคนไร้เสียงส่งเสียง: เครือข่ายของโรฮิงญาและกระบวนการสร้างภาพตัวแทนของโรฮิงญาในประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshRohingya (Burmese people)-
thailis.controlvocab.lcshEthnology -- Burma-
thailis.controlvocab.lcshRefugees-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractวิกฤตการณ์ผู้อพยพชาวโรฮิงญา นับเป็นปรากฏการณ์ที่ได้รับความสนใจจากทั้งสื่อมวลชนระดับโลก สื่อท้องถิ่น และวงวิชาการ ในห้วงทศวรรษที่ผ่านมา อย่างไรก็ตามภาพตัวแทนของชาวโรฮิงญามักจะถูกอธิบายในลักษณะที่มีอคติ และเต็มไปด้วยการด่วนสรุป ทำให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนและในบ้างครั้งไม่ตรงกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน ทั้งชาติพันธุ์วรรณนาแบบพหุสนาม ชาติพันธุ์วรรณาแบบเคลื่อนที่ การสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์เชิงลึก ทั้งชาวโรฮิงญาในประเทศไทย และสมาชิกของสามองค์กรหลักในการศึกษาคือ สมาคมโรฮิงญาแห่งประเทศไทย ไวท์แชนแนล และแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย โดยการตรวจสอบวิธีที่องค์กรเหล่านี้มีปฏิสัมพันธ์และร่วมมือกับชุมชนชาวโรฮิงญาในประเทศไทย นอกจากนี้ยังสำรวจศักยภาพของเครือข่ายการร่วมมือกันเพื่อท้าทายและเปลี่ยนแปลงภาพตัวแทนในสื่อของชุมชนชายขอบนี้ ผลการศึกษาเผยให้เห็นว่าชาวโรฮิงญาในประเทศไทยเผชิญกับการถูกยัดเยียดภาพเชิงลบในสื่อกระแสหลัก สื่อของไทยได้สร้างภาพเหมารวมที่เป็นอันตรายและบ่อนทำลายสิทธิและความเป็นอยู่ของพวกเขา อย่างไรก็ตามชาวโรฮิงญาและเครือข่ายของพวกเขา ซึ่งหมายรวมถึงสามองค์กรข้างต้นพยายามต่อสู้กับภาพตัวแทนด้วยการนำเสนอภาพจำใหม่ๆ โดยที่ชาวโรฮิงญามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจและมีบทบาทอย่างแข็งขันในการสร้างเรื่องเล่าของพวกเขาเอง เครือข่ายความร่วมมือเพื่อการเปลี่ยนแปลงภาพตัวแทนจึงเกิดขึ้นผ่านการปฏิสัมพันธ์ที่ซับซ้อนระหว่างชาวโรฮิงญาและองค์กรต่างๆ ที่ทำงานเพื่อสนับสนุนพวกเขา นอกจากนี้การศึกษายังแสดงให้เห็นว่าชาวโรฮิงญาได้พัฒนาและรักษาเครือข่ายความร่วมมือในประเทศไทย ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการสร้างความชอบธรรมให้พวกเขาอยู่ในประเทศไทยและได้รับการสนับสนุนที่จำเป็น ซึ่งเครือข่ายประกอบด้วยสมาชิกที่มีภูมิหลัง ประสบการณ์ ทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่หลากหลาย ด้วยวิธีวิทยาดังที่กล่าวไปแล้ว วิทยานิพนธ์ชิ้นนี้ได้สำรวจความเชื่อมโยงทางสังคมทั้งภายในและภายนอกชุมชนชาวโรฮิงญาในประเทศไทย ผ่านการทำงานกับองค์กร เพื่อให้ความกระจ่างถึงกระบวนการทำงานร่วมกัน และการปฏิบัติการของชาวโรฮิงญาเพื่อที่จะสร้างการเปลี่ยนแปลงผ่านสื่อทางเลือก วิทยานิพนธ์ฉบับนี้พยายามขยายขอบเขตความรู้ของการเมืองเรื่องภาพตัวแทนของชาวโรฮิงญา และความสำคัญของเครือข่ายผู้ลี้ภัยในประเทศไทยที่ทลายขีดจำกัดของเรื่องเล่าตนเองด้วยสร้างความร่วมมือกับองค์กรต่างๆ ผลลัพธ์ของวิทยานิพนธ์นี้เน้นให้เห็นถึงศักยภาพของเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการเปลี่ยนแปลงภาพตัวแทนที่ร่วมมือกันในการเสริมสร้างพลังให้กับชุมชนชาวชาวโรฮิงญาในประเทศไทยเพื่อความก้าวหน้าไปสู่สังคมที่เท่าเทียมและครอบคลุมมากขึ้น นอกจากนี้วิทยานิพนธ์นี้มีนัยสำคัญสำหรับผู้กำหนดนโยบาย องค์กรพัฒนาเอกชน และผู้ปฏิบัติงานด้านสื่อที่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ลี้ภัย เพื่อการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของผู้ลี้ภัยและการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อท้าทายและจัดการกับการแสดงภาพตัวแทนที่บิดเบี้ยวและมีอคติในสื่อกระแสหลักen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590455903-Kunnawut Boonreak.pdf14.31 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.