Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78531
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธารณ์ ทองงอก-
dc.contributor.advisorยงยุทธ ยะบุญธง-
dc.contributor.authorกาญจนา คําทะวงค์en_US
dc.date.accessioned2023-07-21T10:31:55Z-
dc.date.available2023-07-21T10:31:55Z-
dc.date.issued2021-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78531-
dc.description.abstractThe purposes of this independent study are 1) to study the problems associated with the supervision of academic work and the need for such supervision 2) to create guidelines for the supervision of academic work and 3) to examine supervision guidelines for academic work at the Lampang Special Education Centre. The study is conducted in two steps. The first step involved the study of the problems associated with the supervision of academic work and the need for such supervision at the Lampang Special Education Centre. The population in the study are 35 executives and teachers Lampang Special Education Centre. The data obtained was then analyzed via frequency analysis and explained via orderly narration. The second step involved the creation of the guidelines for the supervision of academic work and the examination of the supervision guidelines for academic work at the Lampang Special Education Centre. The focus group in this study consisted of 10 people, with the discussions on the examination of the supervision guidelines in the focus group being qualitatively analyzed. The data was then analyzed using the Multi Attribute Consensus Reaching (MACR) via two qualitative criteria, namely appropriateness and practicality. It was found in the study that the four problems associated with academic work, namely curriculum development, teaching organizing, instructional media, and evaluation are all at a high level. The commonly found problems are the personnels lack understanding on curriculum creation, while the teacher lacks modern academic knowledge necessary for applying the curriculum. Moreover, there is a dearth of diversity in the design of chile-centred learning, with the instructional media also lacking in creativity and diversity. Last but not least, the evaluation was not used to improve curriculum planning nor increase the efficiency of learning activities. As for the supervision guidelines for academic work at the Lampang Special Education Centre, the decree establishing the Supervision Committee should be enacted, with the role of each committee clearly delineated. The workshop on curriculum development, Individualized Education Program (IEP), and Individual Implementation Plan (IIP) that aligns with disability type should be conducted. The teachers should also be educated on a variety of teaching techniques, friendly supervision, and the production of instructive media that also correlates with the teaching plan. As for evaluation, there should be a meeting on criteria and evaluation. Also, the evaluation criteria should be clearly documented so as to ensure consistency in future evaluation. The teachers should also be informed of the supervision results so that they can be utilized in future evaluation of teaching organizing. The examination of the appropriateness and practicality of supervision guidelines for academic work at the Lampang Special Education Centre revealed that the guidelines received consensus from the focus group in all the following aspects: curriculum development, teaching organizing, instructional media, and evaluation.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการนิเทศงานวิชาการของศูนย์การศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปางen_US
dc.title.alternativeGuidelines for supervision of academic work with special needs at the Lampang Special Education Centeren_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดลำปาง-
thailis.controlvocab.thashการนิเทศการศึกษา -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashการบริหารการศึกษา -- ลำปาง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการรับ การนิเทศงานวิชาการ 2) เพื่อจัดทำแนวทางการนิเทศงานวิชาการและ 3) ตรวจสอบแนวทางการนิเทศ งานวิชาการของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดลำปาง ซึ่งมีขั้นตอนการศึกษา 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการรับการนิเทศงานวิชาการของศูนย์การศึกษา พิเศษประจำจังหวัดลำปาง ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้บริหาร ครูผู้สอน ของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดลำปาง รวมจำนวน 35 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้ความถี่ และเรียงลำดับโดยนำเสนอ เป็นการบรรยาย ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแนวทางการนิเทศงานวิชาการ และการตรวจสอบแนวทางการ นิเทศงานวิชาการของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดลำปาง กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในครั้งนี้แบบ เจาะจง รวมทั้งสิ้น 10 คน โดยวิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสรุปผลจาก ประเด็นการสนทนากลุ่ม (Focus Group) โดยการบรรยาย สำหรับการตรวจสอบแนวทางการนิเทศ งานวิชาการ ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดลำปาง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการตรวจคุณภาพ 2 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านความเหมาะสม 2. ด้านความเป็นไปได้ต่อการนำไปใช้โดยการวิเคราะห์ข้อมูล จากการประชุมอภิปรายแบบพหุลักษณะเพื่อหาฉันทามติ ผลการศึกษา พบว่า สภาพปัญหางานวิชาการ ทั้ง 4 ด้านได้แก่ ด้านการพัฒนาหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านสื่อการเรียนการสอน และด้านการวัดผลประเมินผลในภาพรวมอยู่ ในระดับมาก ปัญหาที่พบ คือ ขาดความเข้าใจในการทำหลักสูตรสถานศึกษา และครูผู้สอนขาดความรู้ ทางวิชาการใหม่ๆ ในการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้ ขาดเทคนิควิธีการที่หลากหลายในการออก แบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูผู้สอนไม่มีการจัดทำสื่อการสอนที่ หลากหลาย และสร้างสรรค์ ขาดการนำผลการประเมินไปใช้ในกรวางแผนการจัดการเรียนรู้หรือ ปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สำหรับแนวทางการนิเทศงานวิชาการของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดลำปาง ควรมี การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ และมอบหมายหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน อบรมให้ความรู้การ พัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา ประชุมให้ความรู้การจัดทำแผนการจัดการศึกษาฉพาะบุคคล (IEP) แผนการสอนเฉพาะบุคคล (IP) ที่สอดคล้องกับความสามารถและประเภทความพิการ และการให้ ความรู้เกี่ยวกับเทคนิค วิธีการสอนที่หลากหลายให้กับครูผู้สอน ดำเนินการนิเทศอย่างเป็นกัลยาณมิตร ให้คำแนะนำวิธีการผลิตสื่อการสอนที่มีความสอดคล้องกับแผนการสอน ในส่วนของการวัดผล ประเมินผล มีการประชุมชี้แจงการดำเนินการวัดผลและประเมินผล และจัดทำเอกสารไว้อย่างชัดเจน เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีการแจ้งผลการนิเทศแก่ครูผู้สอน เพื่อนำ ผลการนิเทศไปพัฒนาการวัดผลและประเมินผลในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในครั้งต่อไป ผลการตรวจสอบความเหมาะสม และความเป็นไปได้ ของแนวทางการนิเทศงานวิชาการของ ศูนย์การศึกษาพิศษประ จำจังหวัดลำปาง พบว่า แนวทางการนิเทศงานวิชาการ ด้านการพัฒนา หลักสูตร ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านสื่อการเรียนการสอน และด้านการวัดผลประเมินผล ผ่านฉันทามติจากการสนทนากลุ่มทุกข้อen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590232092 กาญจนา คำทะวงค์.pdf6.58 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.