Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78524
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorYos Santasombat-
dc.contributor.advisorPhilip Hirsch-
dc.contributor.advisorChusak Wittayapak-
dc.contributor.authorYoo, Yejien_US
dc.date.accessioned2023-07-21T00:50:42Z-
dc.date.available2023-07-21T00:50:42Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78524-
dc.description.abstractThis thesis examines the governing strategies of the Thai power sector, with a specific focus on the Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT), in response to social and environmental controversies related to its energy infrastructure systems. In the 1990s, EGAT faced a legitimacy crisis caused by excessive sulfur dioxide emissions from its coal operations in the Mae Moh district of Lampang province. In response to this crisis, EGAT implemented new governing strategies to address the social and environmental controversies surrounding coal. Using a post-structural approach to power in political ecology and drawing on Foucault’s concept of governmentality, this thesis presents a conceptual framework called ‘governing coal controversy.’ The framework consists of two aspects: ‘framing problems’ and ‘rendering governable’ by utilizing various technologies. Empirical research for this study involved fieldwork in Mae Moh, employing qualitative methodologies such as documentary research, interviews, observations, and spatial discourse analysis. The empirical analysis reveals that EGAT narrowly defined the multifaceted problems of coal exploitation and combustion as an excessive emission of SO2 problem, as well as issues of villagers’ ‘mistrust’ and ‘misunderstanding’ regarding its efforts to address the social and environmental problems caused by its coal business in Mae Moh. Based on this problem framing, EGAT implemented socio-technical interventions such as technological fix, corporate social responsibility (CSR) initiatives, and public relations (PR) activities since the 2000s. These interventions served as temporary solutions for the Thai power sector, deferring the discussion on coal phase-out and postponing the consideration of climate change issues. Additionally, they increased the dependency of residents on EGAT, resulting in EGAT-dependent subjectivities and establishing patron-client relations. The empirical analysis highlights that EGAT’s strategies for governing coal controversy have not only led to carbon lock-in but also patronage lock-in within the context of Thailand. The framework of ‘governing coal controversy’ proves useful in providing a comprehensive and systematic understanding of the coal industry’s responses to its legitimacy crisis in the era of climate change. Furthermore, this thesis enriches the field of political ecology by demonstrating how the framework can be applied to examine similar conflicts and power dynamics in other energy infrastructure development contexts. It also offers valuable insights for scholars and policymakers to delve into the underlying issues of energy transition, moving beyond surface-level phenomena and temporary solutions.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleGoverning energy infrastructure controversy: A Political ecology analysis of the Mae Moh coal-fired power plant in Lampang Province, Thailanden_US
dc.title.alternativeการบริหารจัดการข้อโต้แย้งว่าด้วยโครงสร้างพลังงาน: การวิเคราะห์เชิงนิเวศวิทยาการเมืองจากกรณีโรงไฟฟ้าถ่านหินแม่เมาะ ในจังหวัดลำปาง ประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshElectricity Generating Authority of Thailand-
thailis.controlvocab.lcshElectricity-
thailis.controlvocab.lcshCoal-
thailis.controlvocab.lcshCoal-fired power plants -- Lampang-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractดุษฎีนิพนธ์นี้ศึกษากลยุทธ์การบริหารจัดการข้อโต้แย้งทางสังคมและสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับโครงสร้างพลังงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ในช่วงทศวรรษ 2530-2540 กฟผ. ได้เผชิญกับวิกฤตความชอบธรรม เนื่องจากกระบวนการเผาถ่านหินในอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์เกินค่ามาตรฐาน กฟผ. จึงได้ใช้กลยุทธ์การบริหารจัดการรูปแบบใหม่ในการแก้ปัญหาผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกระบวนการข้างต้น ผู้วิจัยใช้มุมมองหลังโครงสร้างนิยมเกี่ยวกับอำนาจทางนิเวศวิทยาการเมือง และแนวคิดการปกครองชีวญาณของฟูโกต์ ดุษฎีนิพนธ์นี้นำเสนอกรอบแนวคิด “การบริหารจัดการข้อโต้แย้งว่าด้วยถ่านหิน” ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1) “การกำหนดขอบเขตปัญหา” และ 2) “การอำนวยให้สามารถบริหารจัดการได้” ผ่านการใช้เทคโนโลยีรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งการวิจัยเชิงประจักษ์นี้เป็นการศึกษาในภาคสนามของอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ อาทิ การวิจัยเอกสาร การสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์ และการวิเคราะห์วาทกรรมเชิงพื้นที่ จากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า กฟผ. ได้ลดทอนปัญหาที่ซับซ้อนของการใช้ถ่านหินให้เหลือเพียงปัญหาในเรื่องค่ามาตรฐานของการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ กับประเด็นของ “การไม่เชื่อถือ” และ “การเข้าใจผิด” ของชาวบ้านที่พยายามระบุปัญหาทางสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากการดำเนินธุรกิจถ่านหินในแม่เมาะ บนฐานของวิธีการกำหนดขอบเขตปัญหา พบว่า กฟผ. ใช้วิธีการแทรกแซงทางสังคม-เทคนิค เช่น การแก้ซ่อมเชิงเทคโนโลยี การจัดโครงการความรับผิดชอบทางสังคม และกิจกรรมประชาสัมพันธ์ มาตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 2540-2550 อย่างไรก็ตาม วิธีการแทรกแซงดังกล่าวเป็นการแก้ปัญหาเพียงชั่วคราวของภาคส่วนพลังงานของไทยเท่านั้น จึงทำให้การอภิปรายถึงการเลิกใช้ถ่านหินและผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจึงถูกเลื่อนออกไป นอกจากนี้ วิธีการดังกล่าวยังได้เพิ่มภาวะพึ่งพิงของชาวบ้านต่อ กฟผ. ส่งผลต่ออัตวิสัยที่ขึ้นตรงอยู่กับ กฟผ. และสถาปนาความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ การวิเคราะห์เชิงประจักษ์ในงานศึกษานี้ยังชี้ให้เห็นว่า กลยุทธ์การบริหารจัดการของ กฟผ. ต่อความขัดแย้งเรื่องการใช้ถ่านหินไม่เพียงแค่นำไปสู่ตัวล็อคคาร์บอน แต่ยังเป็นตัวล็อคความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ภายในบริบทของไทยอีกด้วย กรอบแนวคิด “การบริหารจัดการข้อโต้แย้งว่าด้วยถ่านหิน” ช่วยทำความเข้าใจอย่างครอบคลุมและเป็นระบบต่อการตอบสนองของอุตสาหกรรมถ่านหินต่อปัญหาความชอบธรรมของพวกเขาใน ยุคสมัยแห่งวิกฤติสภาพภูมิอากาศ นอกจากนี้ ดุษฎีนิพนธ์นี้ยังได้เพิ่มความรู้ทางด้านนิเวศวิทยาการเมือง โดยแสดงให้เห็นว่ากรอบแนวคิดสามารถประยุกต์ใช้ในการตั้งคำถามต่อความขัดแย้งและพลวัตเชิงอำนาจที่คล้ายคลึงกันในบริบทของการพัฒนาเชิงโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานอื่น ๆ ด้วย ดุษฎีนิพนธ์นี้ยังให้ข้อมูลเชิงลึกที่มีคุณค่าต่อนักวิชาการและผู้กำหนดนโยบายเพื่อศึกษาวิจัย อย่างลึกซึ้งต่อประเด็นพื้นฐานต่าง ๆ สำหรับการเปลี่ยนผ่านระบบพลังงาน การก้าวข้ามปรากฏการณ์ระดับพื้นผิว และการแก้ปัญหาเพียงชั่วคราวen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600455802-YEJI YOO.pdf5.52 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.