Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78523
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรสิริสืบพงษ์สังข์-
dc.contributor.advisorประทานทิพย์ กระมล-
dc.contributor.authorรัตติกานต์ เกตุแก้วen_US
dc.date.accessioned2023-07-20T01:32:20Z-
dc.date.available2023-07-20T01:32:20Z-
dc.date.issued2022-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78523-
dc.description.abstractThe objective of this study was to look at how restaurant owners made decisions about seedless Tahiti limes. A questionnaire was utilized to collect data from 100 restaurant owners using a specific sample strategy in order to assess the marketing mix aspects influencing seedless Tahiti lime purchasing behavior. Descriptive statistics like frequency and percentage were used to analyze the data. The researcher separated restaurant owners into two groups in this study: those who used seedless Tahiti seedless limes and those who used other kinds. The majority of them used other kinds of limes. The results of the study found that most of the restaurant owners from both groups were female with a bachelor's degree, age under 30 years old and between 31 and 40 years old. Most of them are selfemployed and operate a business for a duration of 1-3 years. There is a reason why seedless Tahiti limes have not been widely used: most people are unaware of its characteristics and properties. However, there is growing interest in seedless Tahiti limes for use in cooking and beverages. According to the results of this study, both groups of restaurant owners mostly purchase for the aim of flavoring food and decide to shop on their own, which is usually done between 7.00 and 15.00 hours. Restaurant owners that pick seedless Tahiti limes buy just 1-3 times per month and more than 10 times per month on average, whereas the restaurant owners who used other kinds of limes had a buy frequency of more than 10 times per month, both restaurant owners kept the majority of their limes purchases at 6–10 kilograms and used the same amount of lime per time, 1–5 kilograms. Furthermore, restaurant owners who used seedless Tahiti limes frequently purchase them from department stores, without a delivery service. Unlike the majority of restaurant owners, who prefer to buy other kinds of lime from the market that does not provide delivery. Restaurant owners who utilize seedless Tahiti limes frequently buy them because they are seedless, and came in the clear plastic bag with holes packaging. From the restaurant owners' prioritizing of lime purchases, it was discovered that the emphasis on purchasing limes by restaurant owners in both groups was found to be moderate. The most essential consideration in deciding to buy limes was the amount of water, followed by the sour taste, and last the size of the lime A research of marketing mix elements influencing the purchasing of seedless Tahiti limes found that all aspects of the marketing mix were given high priority by both groups of restaurant owners. The greatest total average was for the price element, which was followed by the product aspect, distribution channels, and marketing promotion. Based on the study, the researcher recommends that producers, farmers, and distributors of Tahiti limes and other types of limes consider the harvesting period in relation to the ripeness of the limes. As a result, a lime with the attributes desired by restaurant owners is produced. Prices should be determined by the quality and quantity of the product. To boost confidence in the production, distribution channels should be expanded to be more diverse, easy, and easily available to consumers and restaurant owners, as well as introducing a delivery service or picking up products from the farm. Payment options should be added, and we should also encourage people to learn more about limes.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อมะนาวไร้เมล็ด พันธุ์ตาฮิติของผู้ประกอบการธุรกิจร้านอาหาร ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลกen_US
dc.title.alternativeFactors affecting seedless lime “Tahiti” buying decision of restaurant entrepreneurs in Mueang District, Phitsanulok Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมะนาว - - การตลาด-
thailis.controlvocab.thashมะนาว - - พันธุ์ตาฮิติ ร้านอาหาร - - พิษณุโลก-
thailis.controlvocab.thashร้านอาหาร - - พิษณุโลก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อมะนาวไร้เมล็ด พันธุ์ตาฮิติของผู้ประกอบการร้านอาหารในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกซื้อมะนาวไร้เมล็ดพันธุ์ตาฮิติ ของผู้ประกอบการร้านอาหาร และเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกซื้อมะนาวไร้มล็ด พันธุ์ตาฮิติ โดยใช้แบบสอบถามในการรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบการร้านอาหาร จำนวน 100 คน ด้วยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง และวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ และค่าร้อยละ การศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยแบ่งผู้ประกอบการร้านอาหารออกเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มผู้ประกอบการ้านอาหารที่ใช้มะนาวไร้เมล็ด พันธุ์ตาฮิติ และกลุ่มผู้ประกอบการร้านอาหารที่ใช้มะนาวสายพันธุ์อื่น ๆ โดยพบว่า ผู้ประกอบกรร้านอาหาร ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ใช้มะนาวสายพันธุ์อื่น ๆ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ประกอบการร้านอาหารจากทั้งสองกลุ่มส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุต่ำกว่า 30 ปี และอายุระหว่าง 31 - 40 ปี มีการศึกษระดับปริญญาตรี ดำเนินกิจการในระยะเวลา 1-3 ปี และส่วนใหญ่เป็นเจ้าของกิจการ อย่างไรก็ตามกลุ่มผู้ประกอบการร้านอาหารที่ใช้มะนาวสายพันธุ์อื่น มีสาเหตุที่ยังไม่เคยใช้มะนาวไร้เมล็ด พันธุ์ตาฮิติ เนื่องจากส่วนใหญ่ยังไม่เคยรับรู้ คุณลักษณะ คุณสมบัติของมะนาวไร้เมล็ด พันธุ์ตาฮิติ อย่างแท้จริง แต่ก็มีความสนใจ และแนวโน้มที่จะซื้อมะนาวไร้เมล็ดพันธุ์ดาฮิติ เพื่อนำมาใช้ในการประกอบอาหารหรือเครื่องดื่ม การศึกษาพฤติกรรมการซื้อมะนาว พบว่า ผู้ประกอบการร้านอาหาร ทั้งสองกลุ่มส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ในการเลือกซื้อเพื่อนำไปปรุงแต่งรสชาติอาหาร และตัดสินใจเลือกซื้อด้วยตนเอง ซึ่งมักจะเลือกซื้อในช่วงเวลา 07.00 - 15.00 น. โดยผู้ประกอบการร้านอาหารที่เลือกใช้มะนาวไร้เมล็ด พันธุ์ตาฮิติมีความถี่ในการเลือกซื้อเพียง 1 - 3 ครั้งต่อเดือน และมากกว่า 10 ครั้งต่อเดือน ในขณะที่ผู้ประกอบการร้านอาหารที่เลือกใช้มะนาวสายพันธุ์อื่น ๆ มีความถี่ในการซื้อมากกว่า 10 ครั้งต่อเดือน อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการร้านอาหารทั้งสองกลุ่มยังคงมีปริมาณการซื้อมะนาวต่อครั้งส่วนใหญ่อยู่ที่ 6 - 10 กิโลกรัม และใช้มะนาวต่อครั้งในปริมาณที่เท่ากันคือ 1 - 5 กิโลกรัมต่อครั้ง นอกจากนี้ผู้ประกอบการร้านอาหารที่เลือกใช้มะนาวไร้เมล็ดพันธุ์ตาฮิติ มักเลือกซื้อจากห้างสรรพสินค้า และเป็นแหล่งขายที่ไม่มีบริการจัดส่งซึ่งแตกต่างจากผู้ประกอบการร้านอาหารที่ส่วนใหญ่เลือกใช้มะนาวสายพันธุ์อื่น ๆ จากตลาดค้าปลีก แต่เป็นแหล่งขายที่ไม่มีบริการจัดส่งเช่นเดียวกัน อนึ่งผู้ประกอบการร้านอาหาร ที่เลือกใช้มะนาวไร้เมล็ด พันธุ์ตาฮิติ มักพิจารณาเลือกซื้อมะนาวตามคุณลักษณะที่ไร้เมล็ด และจากบรรจุภัณฑ์ในรูปแบบถุงพลาสติกเจาะรูใสสำหรับใส่ผักและผลไม้ จากการจัดลำดับความสำคัญในการเลือกซื้อมะนาวของผู้ประกอบการร้านอาหาร พบว่า ผู้ประกอบการร้านอาหารทั้งสองกลุ่ม ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญในการเลือกซื้อมะนาวโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยปัจจัยที่ได้รับความสำคัญต่อการตัดสินใจเลือกซื้อมะนาว มากที่สุด คือ น้ำเยอะ รองมาคือ รสเปรี้ยว และอันดับสุดท้าย คือ ขนาดลูก การศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกซื้อมะนาว ไร้เมล็ต พันธุ์ตาฮิติ พบว่า ผู้ประกอบการฯ ทั้งสองกลุ่ม ให้ระดับความสำคัญต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านราคามีค่าเฉลี่ยรวมสูงที่สุด รองลงมาคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และ ด้านส่งเสริมการตลาด จากการศึกษาผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะแก่ผู้ผลิต เกษตรกร หรือผู้จัดจำหน่ายมะนาวในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้องต่อมะนาวทั้งสายพันธุ์ตาฮิติ หรือสายพันธุ์อื่น ๆ ก็ดี กล่าวคือ ควรคำนึงถึงช่วงเวลาการเก็บเกี่ยวที่สอดคล้องต่อความสุกของผลมะนาว ซึ่งจะทำให้ได้มะนาวที่มีคุณลักษณะที่ผู้ประกอบการร้านอาหารต้องการ ควรตั้งราคาให้เหมาะสมกับคุณภาพ ปริมาณ ควรเพิ่มช่องทงการจัดจำหน่ายให้หลากหลายสะดวก สามารถเข้าถึงผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการร้านอาหารได้ง่าย อีกทั้งเพิ่มบริการ จัดส่งสินค้าหรือการรับสินค้าจากสวนที่จะช่วยเพิ่มความมั่นใจในผลผลิตมากขึ้น รวมถึงควรเพิ่มช่องทางการชำระสินค้าและส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับมะนาวen_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600832003 รัตติกานต์ เกตุแก้ว.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.