Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78503
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWipada Kunaviktikul-
dc.contributor.advisorAcharaporn Sripusanapan-
dc.contributor.advisorPetsunee Thungjaroenkul-
dc.contributor.authorNguyen, Thi Hong Anhen_US
dc.date.accessioned2023-07-16T04:11:32Z-
dc.date.available2023-07-16T04:11:32Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78503-
dc.description.abstractThe competency-based nursing curriculum is widely considered as an effective way to equip new graduate nurses with the expected knowledge, skills, and ability to function and meet people’s healthcare needs in the globalization era. This qualitative descriptive research aims to explore the implementation of that curriculum in inculcating nurses in ASEAN countries with the required competencies, as well as its facilitators and barriers, through McGrath’s Input-Process-Output model. Participants were 26 nurse educators and administrators from ten countries in Southeast Asia where the competency-based curricula were implemented. The data collection was done from October 2019 to June 2020 through face-to-face and internet-based in-depth interviews and group discussions, and the data was analyzed based on content analysis as established by Krippendorff (2004). The findings showed that the implementation of competency-based nursing curricula varied in ASEAN countries according to the Input, Process, and Output model. Each country was in a different implementation stage, from initiation halfway to fully functioning. The implementation starts with the Input, including curriculum redesign and facilities investment, then goes through the Process, consisting of teaching and learning improvement and human resources strengthening. Lastly, the Output includes students' performance gain and employers' satisfaction. The facilitators and barriers to implementation were identified as individual and organizational factors. Commitment, strong cooperation, the effectiveness of competency-based nursing curriculum, necessary renovation, and policies were the facilitators. At the same time, limited preparedness in clinical transiting, resistance from implementers, limited resources, and limited understanding of nursing competency stood as barriers. These findings contribute to the understanding and application of competency-based nursing curricula across ASEAN countries, thus facilitating nursing education reform.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleThe Implementation of competency-based nursing curricula Among ASEAN countries: A Situational analysisen_US
dc.title.alternativeการนำหลักสูตรพยาบาลที่ใช้สมรรถนะเป็นฐานในกลุ่มประเทศอาเซียน : การวิเคราะห์สถานการณ์en_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshNurses -- Rating of-
thailis.controlvocab.lcshNursing -- Curricula-
thailis.controlvocab.lcshPerformance-
thailis.controlvocab.lcshASEAN countries-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractหลักสูตรการพยาบาลฐานสมรรถนะได้รับการพิจารณาอย่างกว้างขวางว่าเป็นวิธีที่มีประสิทธิผลในการจัดเตรียมพยาบาลที่สำเร็จการศึกษาให้มีความรู้ ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงานและตอบสนองความต้องการด้านการดูแลสุขภาพของประชาชนในยุคโลกาภิวัตน์ การวิจัยเชิงพรรณนา เชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการนำหลักสูตรดังกล่าวไปใช้ในการสร้างสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลในประเทศอาเซียน ตลอดจนสิ่งเกื้อหนุนและอุปสรรคต่าง ๆ ผ่านโมเดลปัจจัยนำเข้า-กระบวนการ-และผลผลิต ของ McGrath ผู้เข้าร่วมการวิจัยคือ นักการศึกษาพยาบาลและผู้บริหาร 26 คนจาก 10 ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีการใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ ระยะเวลาเก็บข้อมูลเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึงมิถุนายน 2563 รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกทั้งแบบตัวต่อตัวและทางอินเทอร์เน็ต และการสนทนากลุ่ม และวิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการวิเคราะห์เนื้อหาที่สร้างโดย Krippendorff (2004) ผลการวิจัยพบว่าการนำหลักสูตรการพยาบาลฐานสมรรถนะไปปฏิบัติในประเทศอาเซียนแตกต่างกันตามรูปแบบปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต แต่ละประเทศอยู่ในขั้นตอนการดำเนินการที่แตกต่างกัน ตั้งแต่ระยะเริ่มต้น ดำเนินการไปครึ่งทาง จนถึงการใช้งานเต็มรูปแบบ การนำหลักสูตรไปปฏิบัติเริ่มต้นด้วยปัจจัยนำเข้า ซึ่งรวมถึงการออกแบบหลักสูตรใหม่และการลงทุนด้านสิ่งอำนวยความสะดวก จากนั้นเข้าสู่กระบวนการซึ่งประกอบด้วยการปรับปรุงการเรียนการสอน การเสริมสร้างความแข็งแกร่งด้านทรัพยากรมนุษย์ และสุดท้ายตามด้วยผลลัพธ์ที่ผู้เรียนมีความสามารถเพิ่มขึ้นและความพึงพอใจของนายจ้าง ปัจจัยเกื้อหนุนและอุปสรรคในการดำเนินการถูกระบุเป็นปัจจัยส่วนบุคคลและองค์กร ปัจจัยเกื้อหนุนได้แก่ ความมุ่งมั่น ความร่วมมือที่แน่นแฟ้น ประสิทธิผลของหลักสูตรการพยาบาลฐานสมรรถนะ การปรับปรุงที่จำเป็น และนโยบาย ในขณะเดียวกัน อุปสรรค ได้แก่ การเตรียมพร้อมที่จำกัดในการเปลี่ยนแปลงทางคลินิก การต่อต้านจากผู้ดำเนินการ ทรัพยากรที่จำกัด และความเข้าใจที่จำกัดเกี่ยวกับสมรรถนะทางการพยาบาล สิ่งที่ได้จากการศึกษานี้ก่อให้เกิดความเข้าใจและการนำหลักสูตรการพยาบาลฐานสมรรถนะไปใช้ในประเทศต่าง ๆ ในกลุ่มอาเซียน จึงช่วยสนับสนุนการปฏิรูปการศึกษาพยาบาลen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601255804 Nguyen Thi Hong Anh.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.