Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78491
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKhajornsak Sopajaree-
dc.contributor.authorKittipop Chauyjaroenen_US
dc.date.accessioned2023-07-15T05:46:48Z-
dc.date.available2023-07-15T05:46:48Z-
dc.date.issued2022-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78491-
dc.description.abstractAmmonia is a pungent gas in atmosphere that was emitted by many sources. So, in this study, ammonia concentrations were measured using 2 different methods which were honeycomb denuder and real-time measurement for compare collection efficiency of 2 methods in daytime and nighttime, indoor and outdoor ammonia concentrations were collected at Chai Nan University (CNU) Tainan, Taiwan. These was characterized using ion chromatography (IC). At flow rate 10 l/min was chosen in this study. The collection efficiency of honeycomb tube was 76.75 ± 14.18%, 13.37 ± 8.15% and 9.88 ± 6.32% for stage 1, 2 and 3 respectively. In the nighttime, the collection efficiency of honeycomb tube in 1st, 2nd and 3th stage was 89.22 ± 3.28%, 6.03 ± 1.99% and 4.74 ± 1.40% respectively, and in the daytime was 64.27 ± 8.22%, 20.71 ± 4.10% and 15.02 ± 4.88% respectively and ambient temperature was 27.3 ± 1.5 °C for daytime and 24.1 ± 1.3 °C for nighttime. In the daytime the collection efficiency of honeycomb tube was lower than nighttime because temperature which effect to absorption. The outdoor ammonia concentrations by denuder were low in daytime and high in nighttime but indoor ammonia concentrations were contrasted. The indoor ammonia concentrations by honeycomb denuder and real time measurement had same pattern, high in daytime and low in nighttime. The ammonia concentrations of 2 methods at ammonia concentrations which were set at 50 and 100 ppb were similar to each other so, collection efficiency of 2 methods were also similar to each other (NH3 concentration by honeycomb denuder at 50 ppb, 34.31 ± 0.19 µg/m3: n = 4 and at NH3 concentration 100 ppb 68.89 ± 3.07 µg/m3: n = 10) and NH3 concentration by real-time measurement at 50 ppb, 34.05 ± 0.50 µg/m3: n = 20 and at NH3 concentration 100 ppb 68.17 ± 0.65 µg/m3: n = 20). Average indoor ammonia concentrations were collected by real time measurement was fluctuated which depend on number of people in that time which ammonia can excrete from body. Ammonia concentrations at CNU were influenced from ammonia sources such as wastewater treatment plant, drain and natural sources and exhaust gas from vehicles. Using honeycomb denuder with 3 honeycomb tubes suited for ammonia in Southern Taiwan.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAmmonia emission and ammonium formation by photochemical mechanisms of urban aerosolen_US
dc.title.alternativeการปลดปล่อยและการเปลี่ยนรูปของแอมโมเนียในละอองลอยในเมืองโดยกลไกโฟโตเคมิคอลen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshAmmonia-
thailis.controlvocab.lcshHoneycomb denuder-
thailis.controlvocab.lcshPhotochemical-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractแอมโมเนียเแก๊สในบรรยากาศถูกปล่อยมาจากแหล่งหลายๆแหล่งดังนั้นการศึกษานี้จึงทำการเก็บแอมโมเนียด้วยวิธีที่แตกต่างกันคือ ฮันนี่คัม ดีนิวเดอร์และวิธีมอนิเตอริ่ง เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเก็บแอมโมเนียของ 2 วิธี จึงเก็บในเวลากลางวันและกลางคืนและ เก็บในสภาวะในร่มและกลางแจ้งโดยแอมโมเนียจะถูกวิเคราะห์ด้วยวิธีไอออนโครมาโตกราฟี ณ มหาวิทยาลัยเจียหนาน เมืองไถหนาน ประเทศไต้หวัน การศึกษานี้จะทำการเก็บแอมโมเนียที่อัตราการไหล 10 ลิตรต่อนาที ประสิทธิภาพการเก็บแอมโมเนียของฮันนี่คัม ดีนิวเดอร์ในชั้นที่ 1, 2 และ3 คือ 76.75 ± 14.18%, 13.37 ± 8.15% และ 9.88 ± 6.32% ตามลำดับ ทำให้การใช้ฮันนี่คัม ดีนิวเดอร์ เพื่อเก็บแอมโมเนีย ณ เมืองไถหนาน ประเทศไต้หวันแค่ชั้นเดียวนั้นไม่เพียงพอต่อการเก็บแอมโมเนียในอากาศควรใช้มากกว่า 2 หรือ 3 ชั้นขึ้นไป ประสิทธิภาพการเก็บแอมโมเนียของของฮันนี่คัม ดีนิวเดอร์ในชั้นที่ 1ในเวลากลางวัน (64.27 ± 8.22%) ต่ำว่าในเวลากลางคืน (89.22 ± 3.28%) ประสิทธิภาพการเก็บแอมโมเนียของฮันนี่คัม ดีนิวเดอร์ในเวลากลางวันมีประสิทธิภาพการเก็บแอมโมเนียต่ำกว่าในเวลากลางคืนเนื่องจากอุณหภูมิในตอนกลางวัน (27.3 ± 1.5 °C) สูงกว่าเวลากลางคืน (24.1 ± 1.3 °C) อุณหภูมิจึงส่งผลกระทบต่อการดูดซึม ความเข้มข้นของแอมโมเนีย ณ กลางแจ้งจะมีความเข้มข้นต่ำในตอนกลางวัยและสูงในตอนกลางคืนในขณะที่ความเข้มข้นของแอมโมเนียในร่มนั้นจะตรงกันข้ามคือความเข้มข้นสูงในเวลากลางวันและต่ำในเวลากลางคืน ความเข้มข้นของแอมโมเนียในร่มที่ถูกเก็บด้วย 2 วิธีนั้นมีแนวโน้มเดียวกันคือ ความเข้มข้นสูงในเวลากลางวันและต่ำในเวลากลางคืน และที่ความเข้มข้นของแอมโมเนียที่ถูกกหนดไว้ที่ 50 และ 100 ppb และถูกเก็บด้วย 2 วิธีนั้นความเข้มข้นของแอมโมเนียที่เก็บได้จาก 2 วิธีจะมีความเข้มข้นของแอมโมเนียที่ใกล้เคียงกัน (ความเข้มข้นของแอมโมเนียจากฮันนี่คัม ดีนิวเดอร์ ที่ความเข้มข้นของแอมโมเนีย 50 และ 100 ppb มีค่าอยู่ที่ 34.31 ± 0.19 และ 68.89 ± 3.07 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับและความเข้มข้นของแอมโมเนียจากวิธีมอนิเตอริ่งที่ความเข้มข้นของแอมโมเนีย 50 และ 100 ppb มีค่าอยู่ที่ 34.05 ± 0.50 และ 68.17 ± 0.65 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ) และใกล้เคียงกับค่าความเข้มข้นของแอมโมเนียที่กำหนดไว้ (50 และ 100 ppb) ดังนั้น ประสิทธิภาพการเก็บแอมโมเนียของ 2 วิธีจะมีประสิทธิภาพที่สูงและใกล้เคียงกัน ความเข้มข้นของแอมโมเนียเฉลี่ยที่เก็บจากวิธีมอนิเตอริ่งจะมีความผันผวนในแต่ละช่วงเวลาขึ้นกับจำนวนของคนที่อยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เนื่องจากแอมโมเนียปล่อยออกมาจากตัวของมนุษย์ได้ในรูปของการหายใจหรือขับออกมาทางเหงื่อ และแอมโมเนีย ณ เมืองไถหนาน ประเทศไต้หวันถูกปล่อยมาจาก บ่อบำบัดน้ำเสีย ท่อระบายน้ำ จากแหล่งธรรมชาติและ จากแก๊สที่ปล่อยออกมาจากท่อไอเสียของยานพาหนะen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631081-กิตติภพ ช่วยเจริญ.pdf4.08 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.