Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78477
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพรัช กาญจนการุณ-
dc.contributor.advisorนิสิต พันธมิตร-
dc.contributor.authorวลินพิชญ์ คำปิen_US
dc.date.accessioned2023-07-13T00:42:42Z-
dc.date.available2023-07-13T00:42:42Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78477-
dc.description.abstractThis independent study aimed to assess the value of consumer willingness to pay (WTP) for purchasing private Electric Vehicle in Chiang Mai Province as well as to study the factors influencing the determination of consumers' willingness to pay for the purchase of electric passenger vehicles in Chiang Mai Province. The data was collected by questionnaire, using a survey sample of 400 car-owning Chiang Mai residents. By processing willingness to pay value using the STATA program with the Double Bounded Logit Model, using the WTP for mean values command, and in the analysis of factors influencing the value determination of consumers' willingness to pay toward the purchase of electric passenger vehicles in Chiang Mai Province Regression equations were analyzed in the Censored Regression Model, which has a log-normal cumulative probability distribution function (CDF). The study found that the average of WTP was 389,354.50 baht (the additional price of the current car ownership to convert to electric vehicles). And the results were that the initial bid factor, second bid factor, type of vehicle factor, cost factors for current vehicle maintenance, and knowledge factor about the charging and charging time of electric vehicle were the factors influencing the confidence level of 99 percent. And the number of vehicles in the household factor, attitude factor about reducing fuel costs, attitude factor about the speed of spare parts procurement of service centers, and the attitude factor about reducing fuel costs were the factors influencing the confidence level of 95 percent. There were a knowledge factor about charging and charging time for electric vehicles, and a number of motor vehicles in the household were opposite relationship with willingness to pay.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคที่มีต่อการซื้อยานยนต์ไฟฟ้านั่งส่วนบุคคล ในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeConsumer’s willingness to pay for purchasing private electric vehicle in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashยานพาหนะไฟฟ้า -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashรถยนต์ไฟฟ้า -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินมูลค่าความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคที่มีต่อการซื้อยานยนต์ไฟฟ้านั่งส่วนบุคคล รวมถึงเพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดมูลค่าความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคที่มีต่อการซื้อยานยนต์ไฟฟ้านั่งส่วนบุคคล ในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ โดยประมวลผลมูลค่าความเต็มใจจ่าย โดยใช้โปรแกรม STATA ด้วยแบบจำลอง Double Bounded Logit Model โดยเลือกใช้คำสั่ง WTP for mean values สำหรับการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดมูลค่าความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคที่มีต่อการซื้อยานยนต์ไฟฟ้านั่งส่วนบุคคล ในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ได้มีการวิเคราะห์สมการถดถอยในแบบจำลอง Censored Regression Model ซึ่งมีฟังก์ชันการแจกแจงความน่าจะเป็นสะสม (CDF) รูปแบบ Log-normal ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคที่มีต่อการซื้อยานยนต์ไฟฟ้านั่งส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ มีค่าความเต็มใจจ่ายเพิ่มขึ้นประมาณ 389,354.50 บาท เมื่อเทียบกับราคายานยนต์ที่มีการครอบครองอยู่ในปัจจุบัน สำหรับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเต็มใจจ่ายอย่างมีนัยสำคัญ ประกอบด้วย 9 ปัจจัย โดยพบว่า ปัจจัยด้านราคาเสนอเริ่มต้น ปัจจัยราคาเสนอครั้งที่สอง ปัจจัยประเภทยานยนต์ที่ใช้ในปัจจุบัน ปัจจัยค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษายานยนต์ในปัจจุบัน และปัจจัยความรู้เกี่ยวกับการชาร์จและระยะเวลาในการชาร์จประจุยานยนต์ไฟฟ้า เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเต็มใจจ่ายที่ระดับความเชื่อมันร้อยละ 99 ส่วนปัจจัยจำนวนยานยนต์ในครัวเรือน ปัจจัยทัศนคติเกี่ยวกับการช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านน้ำมันเชื้อเพลิง ปัจจัยทัศนคติเกี่ยวกับความรวดเร็วในการจัดหาอะไหล่ของศูนย์บริการฯ และปัจจัยทัศนคติเกี่ยวกับการช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านน้ำมันเชื้อเพลิง เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเต็มใจจ่ายที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95en_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601632045 วลินพิชญ์ คำปิว.pdfประเมินมูลค่าความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคที่มีต่อการซื้อยานยนต์ไฟฟ้านั่งส่วนบุคคล รวมถึงศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดมูลค่าความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคที่มีต่อการซื้อยานยนต์ไฟฟ้านั่งส่วนบุคคล ในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่1.51 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.