Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78470
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชรา ตันติประภา-
dc.contributor.authorปรียานุช ทิพย์ศรีบุตรen_US
dc.date.accessioned2023-07-12T00:36:48Z-
dc.date.available2023-07-12T00:36:48Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78470-
dc.description.abstractThis study aims to study the information sources influencing consumers in Mueang Lampang district towards decision to purchase furniture. A survey was conducted with a sample of 404 respondents who had purchased furniture within the past year. The research involves the questionnaire survey with a sample quota sampling method, which was employed to ensure representation based on population proportions. The total number of respondents included 204 individuals aged between 20 and 45, representing the early and middle working age groups. The remaining 200 individuals aged between 46 and 66 were included, representing the late working age and retirement age group. The statistical methods used to analyze the data included frequency, percentage, mean, as well as the Chi-square test and Independent Samples t-test. The majority of participants were female and held a bachelor's degree, with an average monthly income ranging from 20,001 to 30,000 baht. The frequency of furniture purchases was generally 1-2 times per year, driven by the need to replace broken or damaged items. The average spending amount is not more than 6,000 baht per time. They searched furniture information from offline platforms from storefronts (showrooms) and online platforms by using a regular search from Facebook, while they spent 51-60 minutes per time. The study identified four primary information sources that significantly influenced consumers in their furniture purchase decisions: personal, commercial, public, and experiential sources. Both age group used self-experiment as the most influent source leading to purchasing decision at the decision-making process (AIDA Model). Furthermore, the self-experiment exhibited a significant impact on the purchasing decisions, demonstrating a high level of influence. However, there were notable variations in the information sources preferred by different age groups. The early and middle working age groups tended to rely on personal information sources from parents or relatives, as well as commercial sources from salespeople and Shopee platform. In contrast, the late working age group and retirees favored personal information sources from spouses or offspring, along with commercial sources from salesperson and billboards. Both groups shared a preference for public information sources such as Baan Lae Suan magazine, as well as experiential sources through product trials.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแหล่งข้อมูลที่มีผลต่อผู้บริโภคในอำเภอเมืองลำปางในการตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์en_US
dc.title.alternativeInformation sources influencing consumers in Mueang Lampang District towards decision to purchase furnitureen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashเครื่องเรือน-
thailis.controlvocab.thashเครื่องเรือน -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมเครื่องเรือน -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- ลำปาง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงแหล่งข้อมูลที่มีผลต่อผู้บริโภคในอำเภอเมืองลำปางในการตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้คือ ผู้บริโภคในอำเภอเมืองลำปางที่ซื้อเฟอร์นิเจอร์ในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา จำนวน 404 ตัวอย่าง โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบโควตา ตามสัดส่วนประชากร ได้แก่ ช่วงวัยทำงานตอนต้นและกลาง อายุ 20-45 ปี จำนวน 204 คน และช่วงวัยทำงานตอนปลายและวัยเกษียณ อายุ 46-66 ปี จำนวน 200 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย Chi-square และ Independent Samples t-test โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ระดับการศึกษาปริญญาตรี รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001-30,000 บาท ความถี่ในการซื้อ 1-2 ครั้งต่อปี ลักษณะที่อยู่อาศัยเป็นบ้านเดี่ยว เลือกซื้อเฟอร์นิเจอร์เพราะสินค้าตัวเดิมเสีย/ชำรุด ค่าใช้จ่ายในการซื้อเฟอร์นิเจอร์โดยเฉลี่ยไม่เกิน 6,000 บาทต่อครั้ง ในการแสวงหาข้อมูลทางออฟไลน์ใช้แหล่งข้อมูลจากหน้าร้าน (โชว์รูม) และทางออนไลน์โดยใช้ค้นหาเป็นประจำ คือ เฟซบุ๊ก ในการแสวงหาข้อมูลทางออนไลน์ใช้เวลา 51-60 นาทีโดยเฉลี่ยต่อครั้ง ผลการศึกษาพบว่าแหล่งข้อมูลที่มีผลต่อผู้บริโภคในอำเภอเมืองลำปางในการตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์ จากแหล่งข้อมูลซึ่งประกอบด้วยแหล่งบุคคล แหล่งการค้า แหล่งสาธารณะ และแหล่งประสบการณ์ โดยภาพรวมและทุกช่วงวัยเลือกใช้แหล่งประสบการณ์จากการทดลองด้วยตนเองมากที่สุด ซึ่งแหล่งข้อมูลดังกล่าวส่งผลถึงขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อ ตามไอด้าโมเดลมากที่สุด และแหล่งประสบการณ์ของผู้บริโภคเองมีผลต่อการตัดสินใจซื้อในระดับมาก ทั้งนี้เมื่อพิจารณาการเลือกใช้แหล่งข้อมูลของแต่ละกลุ่มช่วงวัยพบว่า กลุ่มช่วงวัยทำงานตอนต้นและกลางเลือกใช้แหล่งข้อมูลบุคคลจากพ่อแม่หรือญาติ แหล่งข้อมูลการค้าจากพนักงานประจำร้าน และช้อปปี้ ส่วนช่วงวัยทำงานตอนปลายและวัยเกษียณเลือกใช้แหล่งบุคคลจากสามีภรรยา/คนรู้ใจ และลูกหลาน แหล่งการค้าจากพนักงานประจำร้านและป้ายโฆษณากลางแจ้ง โดยทั้งสองกลุ่มเลือกใช้แหล่งสาธารณะจากนิตยสารบ้านและสวน และแหล่งประสบการณ์จากการทดลองใช้สินค้าด้วยตนเองen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532008-Preeyanuch Thipsribud.pdf5.6 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.