Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78465
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนิล รูพ-
dc.contributor.authorบัญชา เชิงคําen_US
dc.date.accessioned2023-07-11T15:01:08Z-
dc.date.available2023-07-11T15:01:08Z-
dc.date.issued2564-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78465-
dc.description.abstractThis independent study aims to test the relationship between busy fund manager and fund performance, and the relation team manager and fund performance. This study have 212 of equity funds which are ranging from 1st January 2014 to 30th December 2019. This study is separated in to 2 parts: (1) excess return from 3-factor model and 5-factor model and (2) multiple regression analysis is used to test the relationship busy fund manager, team manager and fund performance. The result from the first part from 3 factors model and 5 factors model showed that market factor (RMRF), size factor (SMB), value factor (HML), profitability factor (RMW), and investment factor (CMA) have significantly negative relationship with equity fund's excess return. The result from regression analysis finds that both of busy fund manager and team manager have significantly negative relationship with equity fund's performance, which means the equity fund performance that managed by busy fund manager and team manager will be lower.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectผู้จัดการกองทุนen_US
dc.titleผลกระทบของผู้จัดการกองทุนที่บริหารหลายกองทุนต่อผลการดําเนินการของกองทุนen_US
dc.title.alternativeThe Impact of busy fund managers on mutual fund performanceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashกองทุนรวม-
thailis.controlvocab.thashอัตราผลตอบแทน-
thailis.controlvocab.thashการลงทุน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้จัดการกองทุนที่บริหาร หลายกองทุนในเวลาเคียวกัน (Busy Fund Manager) กับผลตอบแทนของกองทุน และเพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างกองทุนที่มีผู้จัดการกองทุนหลายคน (Team Manager) กับผลตอบแทนของ กองทุน การศึกษานี้มีข้อมูลของจำนวนกองทุนทั้งสิ้น 212 กองทุน ซึ่งมีระยะเวลาเป็นเวลา 5 ปีตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ถึง 30 ธันวาคม พ.ศ. 2562 การศึกษานั้นแบ่งเป็น 2 ส่วนประกอบไปด้วยส่วนที่ หนึ่งคือการศึกษาผลตอบแทนส่วนเกินของกองทุนผ่านแบบจำลองราคา 3 ปัจจัย และ5 ปัจจัย และ ส่วนที่สองการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression) เพื่อเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้จัดการกองทุพที่บริหารหลายผู้จัดการกองทุนหลายคน และผลตอบแทนของกองทุน ผลการศึกษาส่วนแรกจากแบบจำลองทั้ง 3 ปัจจัย และ 5 ปัจจัยพบว่า ผลตอบแทนจากส่วน ชดเชยความเสี่ยงตลาด (RMRF) ผลตอบแทนจากส่วนชดเชยความเสี่ยงด้านขนาด (SMB) ผลตอบแทนจากส่วนชดเชยความเสี่ยงค้นมูลค่า (HML) ผลตอบแทนจากส่วนชดเชยความเสี่ยงด้าน ความสามารถในการทำกำไร (RMW) และผลตอบแทนจากส่วนชดเชยความเสี่ยงด้านการลงทุน (CMA) มีความสัมพันธ์กับอัตราผลตอบแทนส่วนเกินของกองทุนในทิศทางตรงกันข้ามอย่างมีนัยยะ สำคัญ ผลการศึกษาจากการวิเคราะห์การถคถอยพหุคูณ (Multiple Regression) พบว่าผู้จัดการกองทุน ที่บริหารหลายกองทุนในเวลาเดียวกัน (Busy Fund Manager) และผู้จัดการกองทุนหลายคน (Team Manager) มีความสัมพันธ์กับผลตอบแทนของกองทุนในทิศทางตรงกันข้ามอย่างมีนัยยะสำคัญ ซึ่ง หมายความว่ากองทุนที่มีผู้จัดการกองทุนที่บริหารหลายกองทุนในเวลาเดียวกัน และมีผู้จัดการกองทุน หลายคน จะส่งผลให้ผลการดำเนินงานของกองทุนลคลงen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532200 บัญชา เชิงคำ.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.