Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78449
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorต่อนภา ผุสดี-
dc.contributor.advisorศันสนีย์ จำจด-
dc.contributor.authorนันท์นพิน ปันธิen_US
dc.date.accessioned2023-07-11T14:11:13Z-
dc.date.available2023-07-11T14:11:13Z-
dc.date.issued2564-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78449-
dc.description.abstractFragrant rice landraces are highly genetic diverse, have a high ability to adapt to the local environments and some varieties are fragrant rice. The aroma is one of the characteristics of rice grain quality. The major aromatic compound found in rice is 2-acety1-1-pyrroline (2AP), the essential compounds derived from proline. The factors such as environments, cultivation practices, and post- harvest managements have been reported that affect the aroma of fragrant rice. Therefore, the objective of this research was to evaluate the effects of nitrogen application rate on proline contents in leaves at three growth stages (tillering, booting, and flowering stage), yield, yield components, seed qualities and the expression of hadh2 and TPI genes at flowering stage in Thai fragrant rice landraces. The experiment was conducted at Mae Hia Agricultural Research, Demonstration and Training center, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University. The experiments were conducted in a complete randomized design (CRD) with 3 replications. The first factor was nitrogen fertilizer rate (N), including 30, 60, 90, 120, 150, and 180 kg of nitrogen per hectare (kgN/ha). The second factor was rice varieties (V), namely Buer Ner Moo 4 (BNM4) (fragrant rice), Khao Dawk Mali 105 (KDML105) (fragrant rice), and Suphan Buri 1 (SPR1) (non-fragrant rice). The results showed that there are an, effects of nitrogen fertilizer sates on proline content in the rice leaves. The three varieties of rice illustrated high proline content at booting stage compared to the otber two growth stages. At a rate of 180 kgN/ha, BNM4 bad the highest proline content (2.41 µmol/g fresh weight), while KDML105 had high proline content at rates of 150 and 180 kgN/ha (4.05 µmol/g fresh weight) and SPR1 had tbe higbest proline content at 120 and 180 kgN/ha (2.28 µmol/g fresh weight). Furtbermore, the increasing rate of nitrogen fertilizers increased tbe plant beight, panicles per plant, spikelets per panicle, percent filled grain, 100 grain weight, straw dry weight, and grain yield of rice. Sensory evalution for grain aroma revealed that BNM4 and KDML 105 grown at the rate of 60 kgN/ha bad the highest aroma (score 2). The softness of three varieties rice was determined by the alkali test. The sesults illustrated that the increasing of nitrogen rates did not affect the softness of rice grain. The study of the expression badh? and TPI genes of aromatic in three rice varieties at different nitrogen fertilizer sates were conducted at the flowering stage (5 days after the anthesis). BNM4 had the highest expression of badh2 and TPI gene at the rate of 30 (2.14) and 120 (2.67) kgN/ha, respectively, while KDML105 rice bad the highest hadh2 and TPI gene expression at the rate of 90 (2.30) and 180 (2.34) kgN/ha, respectively, and SPR1 rice bad the highest expression of badh2 and TPI gene at the rate of 150 (1.39) and 180 (2.08) kgN/ha, respectively. This data could be useful for cultivation management for enhancing the aroma and productivity of the fragrant rice landraces in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของปุ๋ยไนโตรเจนต่อความหอมและการแสดงออกของยีนในข้าวหอมพื้นเมืองไทยen_US
dc.title.alternativeEffects of Nitrogen fertilizer on fragrance and genes expression in Thai fragrant rice landracesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashข้าว -- พันธุ์-
thailis.controlvocab.thashข้าว -- พันธุ์บือเนอมู-
thailis.controlvocab.thashข้าว -- พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105-
thailis.controlvocab.thashข้าว -- พันธุ์สุพรรณบุรี 1-
thailis.controlvocab.thashข้าว -- กลิ่น-
thailis.controlvocab.thashการแสดงออกของยีน-
thailis.controlvocab.thashปุ๋ยไนโตรเจน-
thailis.controlvocab.thashไนโตรเจนในเกษตรกรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractข้าวพันธุ์พื้นเมืองเป็นข้าวที่มีความหลากหลายทางพันธุกรรมสูง สามารถปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมตามท้องถิ่นได้ดี บางสายพันธุ์มีกลิ่นหอม ซึ่งเป็นหนึ่งในลักษณะคุณภาพเมล็ดที่สำคัญ ต่อการบริโภค โดยความหอมเกิดจากสาร 2-acetyl-1-pyprroline ซึ่งมีสารตั้งต้นจากโพรลีนที่สร้างขึ้น จากการได้รับผลกระทบจากปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม วิธีการเพาะปลูก และการจัดการหลังการเก็บ เกี่ยวก็มีผลต่อความหอมในข้าวหอม ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของอัตราการใส่ ปุ๋ยในโตรเจนต่อปริมาณสารโพรลีนในใบที่ระยะการเจริญเติบโต 3 ระยะ คือ ระยะแตกกอ ระยะตั้ง ท้อง และระยะคอกบาน ผลผลิต องค์ประกอบผลผลิต คุณภาพเมล็ด และการแสคงออกของยืน hadh2 และยืน TPI ที่ระยะออกดอกในข้าวหอมพันธุ์พื้นเมืองไทย ทดลอง ฌ ศูนย์วิจัยสาธิตและฝึกอบรม การเกษตรแม่เหียะ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทำการทดลองในกระถางทคลอง วางแผนแบบแฟคทอเรียลในแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 3 ซ้ำ ประกอบด้วย 2 ปัจจัย ปัจจัยแรกคือปุ๋ยในโตรเจนจำนวน 6 ระดับ ได้แก่ 30, 60, 90, 120, 150 และ 180 กิโลกรัมในโตรเจน ต่อเฮกตาร์ ปัจจัยที่สองคือพันธุ์ข้าว 3 พันธุ์ ได้แก่ ข้าวพันธุ์บือเนอมู 4 (พันธุ์ข้าวหอม) ข้าวพันธุ์ขาว ดอกมะลิ 105 (พันธุ์ข้าวหอม) และข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 (พันธุ์ข้าวไม่หอม) จากผลการศึกษาพบว่าอัตราปุ๋ยไนโตรเจนมีผลต่อปริมาณสารโพรลีนในใบข้าว โดยข้าวทั้ง สามพันธุ์มีปริมาณสารโพรลีนสูงที่ระยะตั้งท้องเมื่อเทียบกับระยะการเจริญเติบโตอื่น ข้าวพันธุ์บือ เนอมู 4 ที่อัตรา 180 กิโลกรัมไนโตรเจนต่อเฮกตาร์ มีปริมาณสารโพรลีนสูงสุด (2.41 ไมโครโมลต่อ กรัมน้ำหนักสด) ขณะที่ข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 มีปริมาณสารโพรลีนสูงที่สุด ที่อัตรา 150 และ 180 กิโลกรัมในโตรเจนต่อเฮกตาร์ (4.05 ไมโครโมลต่อกรัมน้ำหนักสด) และข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 มี ปริมาณสารโพรลีนสูงสุดที่ปุ๋ยไนโตรเจนอัตรา 120 และ 180 กิโลกรัมไนโตรเจนต่อเอกตาร์ (2.28 ไม โครโมลต่อกรัมน้ำหนักสด) นอกจากนี้ยังพบว่าเมื่อใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในอัตราเพิ่มขึ้นส่งผลให้ความสูง ต้น จำนวนรวงต่อต้น จำนวนเมล็ดดีต่อรวง เปอร์เซ็นต์เมล็ดดี น้ำหนัก 100 เมล็ด น้ำหนักแห้งฟาง และผลผลิตเมล็ดของข้าวเพิ่มขึ้น ขณะที่การทดสอบความหอมด้วยการดมกลิ่น พบว่าข้าวพันธุ์บือ เนอมู 4 และพันธุ์ขาวคอกมะลิ 105 ที่อัตราปุ๋ยไนโตรเจน 60 กก.ไนโตรเจน/เฮกตาร์ ได้ระดับความ หอมมาก (2 คะแนน) และการทดสอบความอ่อนนุ่มของเมล็ดข้าวทั้ง 3 พันธุ์ด้วยวิธีการสลายตัวใน ด่าง พบว่าการเพิ่มอัตราปุ๋ยไนโตรเจนไม่มีผลต่อความอ่อนนุ่มของเมล็ดข้าว จากการศึกษาการ แสดงออกของยืนที่เกี่ยวข้องกับลักษณะความหอม hadh2 และ TPI ในข้าว 3 พันธุ์ที่อัตราปุ้ย ไนโตรเจนต่างกัน เก็บตัวอย่างที่ระยะ 5 วันหลังดอกบาน 50 เปอร์เซ็นตั ข้าวพันธุ์บือเนอมู 4 พบการ แสคงออกของยืน hadh2 และยืน TPI สูงสุดที่ระดับปุ๋ยไนโตรเจน 30 (2.14) และ 120 (2.67) กิโลกรัม ไนโตรเจนต่อเฮกตาร์ ตามลำดับ ข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 มีการแสคงออกของยืน hadh2 และยีน TPI สูงสุดที่ระดับปุ๋ยไนโตรเจน 90 (2.30) และ 180 (2.34) กิโลกรัมไนโตรเจนต่อเฮกตาร์ ตามลำคับ และข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 มีการแสดงออกของยีน hadh2 และยืน TPI สูงสุดที่ระดับปุ๋ยไนโตรเจน 150 (1.39) แล ะ 180 (2.08) กิโลกรัมไนโตรเจนต่อเฮกตาร์ ตามลำดับ จากผลที่ได้สามารถนำไป ประยุกต์เพื่อเพิ่มความหอมและผลผลิดของข้าวหอมพื้นเมืองให้ดีขึ้นในอนาคตen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610831019 นันท์นพิน ปันธิ.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.