Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78417
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาสกร เตวิชพงศ์ | - |
dc.contributor.author | ลลิตา วุฒิวิชญานันต์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-11T01:03:15Z | - |
dc.date.available | 2023-07-11T01:03:15Z | - |
dc.date.issued | 2023-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78417 | - |
dc.description.abstract | This research aimed to (1) examine the relationship between perceived job insecurity, trust in organization, and readiness for organizational change, and (2) investigate the moderating role of trust in organization towards the relationship between perceived job insecurity and readiness for organizational change of employees in airline industry. The correlational research design was used. The samples were 400 full-time employees in airline industry: white-collar workers, ground staff, flight attendants, and pilots. The research instruments employed in this research were (1) a demographic questionnaire, (2) a perceived job insecurity questionnaire, (3) a readiness for organizational change questionnaire, and (4) a trust-in-organization questionnaire. Data were analyzed by using descriptive statistics and inferential statistics. The PROCESS Macro Program (Model 1) proposed by Hayes (2018) was used to test the hypotheses regarding the moderation effects. The results were as follows: (1) perceived job insecurity had a significantly negative correlation with readiness for organizational change at the .01 level (r = -.198) (2) trust in organization had a significantly positive correlation with readiness for organizational change at the .05 level (r = .119) and (3) trust in organization was significantly moderated towards the relationship between perceived job insecurity and readiness for organizational change. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความไม่มั่นคงในงานและความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์การของพนักงานในอุตสาหกรรมธุรกิจสายการบิน: บทบาทการเป็นตัวแปรปรับของความไว้วางใจต่อองค์การ | en_US |
dc.title.alternative | Relationship between perceived job insecurity and readiness for organizational change among employees in airline industry : Moderating role of trust in organization | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ความพอใจในการทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | ความเครียดในการทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | พนักงานสายการบิน | - |
thailis.controlvocab.thash | สายการบิน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความไม่มั่นคงในงาน ความไว้วางใจต่อองค์การ และความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์การ และ (2) ศึกษาบทบาทการเป็นตัวแปรปรับของความไว้วางใจต่อองค์การที่มีต่อความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความไม่มั่นคงในงานกับความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์การของพนักงานในอุตสาหกรรมธุรกิจสายการบิน รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้คือ พนักงานในอุตสาหกรรมธุรกิจสายการบินที่เป็นพนักงานปฏิบัติงานเต็มเวลา ได้แก่ พนักงานที่ปฏิบัติงานในสำนักงาน พนักงานบริการภาคพื้น พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินและนักบิน จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล (2) แบบวัดการรับรู้ความไม่มั่นคงในงาน (3) แบบวัดความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์การ และ (4) แบบวัดความไว้วางใจต่อองค์การ สถิติที่ใช้ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมานเพื่อทดสอบสมมติฐานและศึกษาตัวแปรปรับด้วยโปรแกรม PROCESS Macro (Model 1) ของ Hayes (2018) ผลการวิจัยพบว่า (1) การรับรู้ความไม่มั่นคงในงานมีความสัมพันธ์เชิงลบกับความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = -.198) (2) ความไว้วางใจต่อองค์การมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .119) และ (3) ความไว้วางใจต่อองค์การมีบทบาทในการปรับความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความไม่มั่นคงในงานกับความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620132036 LALITA WUTIWICHAYANAN.pdf | 620132036 LALITA IS | 772.21 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.