Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78403
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพรรณิกา ลือชารัศมี-
dc.contributor.advisorจิราคม สิริศรีสกุลชัย-
dc.contributor.authorณิรินทร์ญา ทะฤาษีen_US
dc.date.accessioned2023-07-09T07:13:06Z-
dc.date.available2023-07-09T07:13:06Z-
dc.date.issued2022-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78403-
dc.description.abstractNowadays, tourism in Thailand has expanded and become the main industry that generates income for the country. Multi-destination tourism trips (MTTs) is a one-time trip where more than one province is visited and. is a popular form of travel. Phrae province is a tourism destination in Thailand that has long history with archeological sites, nature, art, and cultures. However, the number of tourists to Phrae province is not yet high compared to some other provinces in the northern part of Thailand and the number dropped significantly since COVID-19. As a transit province with connection to another provinces, such as Chiang Mai, Lampang, Chiang Rai, etc., Phrae province is a potential center of multi-destination tourism trips in the northern part of Thailand.. Therefore, this study examines the possibility of multi-destination tourism in Phrae province together with tourism in provinces adjacent provinces..Moreover, this study also examines factors determining multi-destination tourism of Thai tourists in Phrae province. The data used in this study was collected from Thai tourists traveling in provinces adjacent to Phrae province including Lampang, Phayao, Nan, Sukhothai and Uttaradit provinces. A total of 400 questionnaires were collected. show that most of the respondents had the purpose of travelingtravel for leisure or tourism with the trip . duration of 3 days. The most common form of the travel is travel with family or relatives. Most of them search for tourism information from the internet and have their own transportation.factors affecting tourists’ intention to travel to Phrae province, it was found that Followed by culture, travel safety, convenience for communication and , image of tourist attraction. Regarding the intention to travel to Phrae province in the next five years, 54.0% had no intention to travel, 23.5% intend to travel to Phrae province as a single-destination trip and 22.5% intend to travel to Phrae as a multi-destination trip. For factors that influence tourists’ intention, the results show that tourists who have visited Phrae province before and like cultural attractions are most likely to visit Phrae as a multi-destination trip.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความเป็นไปได้ในการท่องเที่ยวหลายจังหวัดของนักท่องเที่ยวชาวไทย กรณีศึกษา นักท่องเที่ยวชาวไทยเดินทางท่องเที่ยว จังหวัดแพร่en_US
dc.title.alternativePossibility of multi-destination tourism for domestic tourists : the case of Thai tourists travelling in Phrae provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการท่องเที่ยว-
thailis.controlvocab.thashนักท่องเที่ยว -- แพร่-
thailis.controlvocab.thashไทย -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบันการท่องเที่ยวของประเทศไทยได้ขยายตัวมากขึ้นจนกลายเป็นอุตสาหกรรมหลักที่ทำรายได้ให้กับประเทศ การท่องเที่ยวหลายจังหวัด Multi-destination tourism trips (MTTs) เป็นรูปแบบการเดินทางท่องเที่ยวแบบเดินทางครั้งเดียวที่มีการเยี่ยมชมมากกว่าหนึ่งจังหวัด ซึ่งก็เป็นรูปแบบที่นิยมในการเดินทางท่องเที่ยวรูปแบบหนึ่งเช่นกัน จังหวัดแพร่ ถือเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทยที่มีประวัติศาสตร์มายาวนาน จึงทำให้มีสถาปัตยกรรม โบราณสถาน ศิลปะ และวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม จำนวนนักท่องเที่ยวที่มายังจังหวัดแพร่ยังไม่สูงมากนักเมื่อเทียบกับจังหวัดอื่นๆ ในภาคเหนือของประเทศไทย และจำนวนนักท่องเที่ยวก็ลดลงอย่างมากตั้งแต่ช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในฐานะที่เป็นจังหวัดทางผ่านที่เชื่อมต่อกับจังหวัดอื่น เช่น เชียงใหม่ ลำปาง เชียงราย เป็นต้น จังหวัดแพร่จึงเป็นศูนย์กลางที่มีศักยภาพของการเดินทางท่องเที่ยวหลายจังหวัดร่วมกันในภาคเหนือของประเทศไทย ดังนั้น การศึกษานี้จึงศึกษาความเป็นไปได้ของการท่องเที่ยวแบบหลายจุดหมายในจังหวัดแพร่ร่วมกับจังหวัดข้างเคียง นอกจากนี้ การศึกษานี้ยังศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการท่องเที่ยวหลายจังหวัด กรณีศึกษาการท่องเที่ยวจังหวัดแพร่ของนักท่องเที่ยวชาวไทย ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษานี้รวบรวมจากนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางท่องเที่ยวในจังหวัดที่อยู่ติดกับจังหวัดแพร่ ได้แก่ จังหวัดลำปาง พะเยา น่าน สุโขทัย และอุตรดิตถ์ เป็นการเก็บแบบสอบถามทั้งหมด 400 ชุด ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เดินทางเพื่อพักผ่อนหรือท่องเที่ยวโดยมีระยะเวลาการเดินทาง 3 วัน รูปแบบการเดินทางที่พบบ่อยที่สุดคือการเดินทางกับครอบครัวหรือญาติ ส่วนใหญ่ค้นหาข้อมูลการท่องเที่ยวจากอินเทอร์เน็ตและมีพาหนะส่วนตัว สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเดินทางมาท่องเที่ยวในจังหวัดแพร่ พบว่า ความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติเป็นปัจจัยหลักที่ดึงดูดนักท่องเที่ยว รองลงมาคือ วัฒนธรรม ความปลอดภัยในการเดินทาง ความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร และภาพลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยว สำหรับความตั้งใจในการเดินทางมายังจังหวัดแพร่ในช่วง 5 ปีข้างหน้า 54.0% ไม่มีความตั้งใจที่จะเดินทางไปท่องเที่ยวจังหวัดแพร่ 23.5% ตั้งใจเดินทางมายังแพร่จังหวัดเดียว 22.5% ตั้งใจเดินทางมายังจังหวัดแพร่ร่วมกับจังหวัดอื่น ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจเดินทางมาแพร่ของนักท่องเที่ยว ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่านักท่องเที่ยวที่เคยมาเยือนแพร่และชื่นชอบในแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมมีความเป็นไปได้ที่จะเดินทางมาแพร่อีกครั้ง ในการเป็นจุดหมายการเดินทางร่วมกับจังหวัดอื่นen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611632022-ณิรินทร์ญา ทะฤาษี.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.