Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78390
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐพล ตันตระกูลทรัพย์-
dc.contributor.authorนิพพิชฌน์ เครื่องสนุกen_US
dc.date.accessioned2023-07-09T05:23:23Z-
dc.date.available2023-07-09T05:23:23Z-
dc.date.issued2022-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78390-
dc.description.abstractThe purposes of the study on the social movement of the Young Pride Club, Chiang Mai Province were 1) to study the history of the Young Pride Club, 2) to study the development of concepts and movement methods of the Young Pride Club, and 3) to study the external factors influencing on the Young Pride Club movement. The study was a qualitative research study. The data was collected from relevant documents and in depth interviews with 6 key informants for data analysis using the concept of social movement. The results of the study revealed that the formation of the group was initiated by the founders of the group having a concept of gender identity. Therefore, They joined groups with people with the same ideology by grouping together without an organizational structure. The concept of gender identity was problem-defined and presented through various activities. The group had set up a tactical framing for movement, divided into 3 phases. The first phase was the formation of the group (2018) and was active through Facebook and Website. The group presented online media content on gender identity and gender rights issues through relevant international news. In addition, the group used on-campus events to expand alignment among students, such as the Gender Talk Contest and My Body My Right events. The second phase is during the network expansion of the group (2019), in which the group was successful in expanding collaboration with other movement organizations through Chiang Mai Pride activities. Thus, the framing has been expanded to other human rights issues, such as handicapped group, ethnic groups, sex worker groups, etc. The last phase is network maintenance (2020). It was found that the COVID-19 situation occurred. Hence, the group changed its tactics by focusing on online activities via ZOOM and Clubhouse, emphasizing on presenting and disseminating ideas about gender identity. These findings indicated that the three stages of the movement's tactics are driven through the framing of gender identity to define the problem by conveying ideological transmission activities. Such strategies have been successful in expanding the alignment of both organizations and the masses to the point of being of interest to society, especially through Chiang Mai Pride activities, even though after that the alignment could not be continuously expanded because of the COVID-19 outbreak.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมของกลุ่มยังไพร์ดคลับ จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeSocial movement of young pride club in Chiang Mai provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashขบวนการสังคม -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashกลุ่มยังไพร์ดคลับ-
thailis.controlvocab.thashสิทธิมนุษยชน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานศึกษาเรื่อง ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมของกลุ่ม Young Pride Club จังหวัดเชียงใหม่มีวัตถุประสงค์ของการศึกษา ได้แก่ 1) เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของกลุ่ม Young Pride Club 2) เพื่อศึกษาพัฒนาการแนวคิดและวิธีการเคลื่อนไหวของกลุ่ม Young Pride Club และ 3) เพื่อศึกษาปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวของกลุ่ม Young Pride Club โดยเป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งมีการดำเนินการเก็บข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 6 คน เพื่อนำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้แนวคิดขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม (social movement) ผลการศึกษา พบว่า การก่อตัวของกลุ่มเกิดขึ้นจากผู้ก่อตั้งกลุ่มมีแนวคิดเรื่องอัตลักษณ์ทางเพศ จึงรวมกลุ่มกับผู้ที่มีอุดมการณ์เดียวกันโดยกลุ่มรวมตัวกันอย่างไม่มีโครงสร้างองค์กร แนวคิดเรื่องอัตลักษณ์ทางเพศถูกนิยามปัญหาและนำเสนอผ่านกิจกรรมต่าง ๆ โดยกลุ่มได้กำหนดกรอบยุทธวิธีในการเคลื่อนไหว แบ่งเป็น 3 ช่วง ช่วงแรกเป็นช่วงก่อตัวของกลุ่ม (พ.ศ.2561) เคลื่อนไหวผ่าน Facebook และ Website นำเสนอเนื้อหาในสื่อออนไลน์เกี่ยวกับอัตลักษณ์ทางเพศและประเด็นสิทธิทางเพศผ่านการนำเสนอข่าวต่างประเทศที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องและใช้การจัดกิจกรรมในมหาวิทยาลัยเพื่อขยายแนวร่วมในหมู่นักศึกษา เช่น กิจกรรม Gender Talk Contest และกิจกรรม My Body My Right ช่วงที่สองเป็นช่วงขยายเครือข่ายของกลุ่ม (พ.ศ.2562) ซึ่งกลุ่มประสบความสำเร็จใน การขยาย แนวร่วมกับองค์กรการเคลื่อนไหวอื่นผ่านกิจกรรม Chiang Mai Pride จึงมีการขยายกรอบโครงทางความคิด สูประเด็นเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในด้านอื่น ๆ เช่น กลุ่มผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่ม Sex Worker เป็นต้น ช่วงสุดท้ายเป็นช่วงรักษาเครือข่าย (พ.ศ.2563) พบว่าเกิดสถานการณ์โควิด 19 กลุ่มจึงเปลี่ยนยุทธวิธีโดยเน้นการทำกิจกรรมผ่านสื่อออนไลน์ทาง ZOOM และ Clubhouse โดยเน้นการนำเสนอและเผยแพร่แนวคิดเกี่ยวกับอัตลักษณ์ทางเพศ ข้อค้นพบดังกล่าวชี้ให้เห็นว่ายุทธวิธีการเคลื่อนไหวของกลุ่มทั้ง 3 ช่วง มีการขับเคลื่อนผ่านกรอบโครงความคิดเรื่องอัตลักษณ์ทางเพศเพื่อนิยามปัญหาโดยถ่ายทอดกิจกรรมส่งต่อทางอุดมการณ์ความเชื่อในการขยายแนวร่วมมวลชนและองค์กรแนวร่วมอื่น ๆ ยุทธวิธีดังกล่าวประสบความสำเร็จในการขยายแนวร่วมทั้งองค์กรและมวลชนจนเป็นที่สนใจของสังคมโดยเฉพาะผ่านกิจกรรม Chiang Mai Pride แม้หลังจากนั้นจะไม่สามารถขยายแนวร่วมได้อย่างต่อเนื่องเพราะสถานการณ์โควิด 19en_US
Appears in Collections:POL: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621931009-นิพพิชฌน์ เครื่องสนุก.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.