Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78389
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเดชา ทำดี-
dc.contributor.advisorศิวพร อึ้งวัฒนา-
dc.contributor.authorจารุวรรณ จันดาหงษ์en_US
dc.date.accessioned2023-07-09T05:16:15Z-
dc.date.available2023-07-09T05:16:15Z-
dc.date.issued2022-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78389-
dc.description.abstractThe best prevention for stroke is the promotion of health behavior changes for controlling the risk factors that cause disease, especially the risk factors from inappropriate health behaviors. This quasi-experimental research aimed to examine the effect of the health belief enhancing program on stroke prevention behaviors of at-risk persons in community, comparing the average scores for stroke prevention behaviors between one group, before and after their participation in the health belief enhancing program, and another group that received normal health care service. The sample group included 44 persons at risk for stroke, aged 35 years and over, with 22 persons in a control group and 22 persons in an experimental group. The study was conducted in Ban Kho Subdistrict, Muang Pan District, Lampang Province. The research instruments included the health belief enhancing program for stroke prevention behaviors in at-risk persons, developed from the concept of the health belief model theory by Becker and Maiman (1975), and the stroke-risk control behavior questionnaire. The health belief enhancing program passed a content accuracy check by 6 experts, and the stroke-risk control behavior questionnaire tested for a coefficient of stability of .81. Data were analyzed by using descriptive statistics, Fisher’s exact test, independent t-test, and paired t-test. The results showed that after participating in the health belief enhancing program for 12 weeks, the experimental group had average scores for stroke prevention behaviors which were higher than before participating in the program and more than that of the control group, which received normal hospital services with statistical significance (p<.001). The outcome indicates that health belief enhancing programs should be recommended for promoting perceived stroke self-awareness in at-risk persons and can improve good health practices which could lead to stroke prevention behaviors.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของกลุ่มเสี่ยงในชุมชนen_US
dc.title.alternativeEffect of the health belief enhancing program on stroke prevention behaviors of at-risk persons in communityen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโรคหลอดเลือดสมอง-
thailis.controlvocab.thashโรคหลอดเลือดสมอง -- ผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashความรอบรู้ทางสุขภาพ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองที่ดีที่สุด คือการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ ต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของกลุ่มเสี่ยงในชุมชน โดยเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ในกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพวัดผลก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ และระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพกับกลุ่มที่ได้รับคำแนะนำตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 44 ราย สุ่มออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 22 ราย กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ 22 ราย และกลุ่มที่ได้รับคำแนะนำตามปกติ 22 ราย ดำเนินการวิจัยในพื้นที่ตำบลบ้านขอ อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย โปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากแนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model) ของเบคเกอร์และไมแมน (Becker and Maiman, 1975) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและการเจ็บป่วย และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง เครื่องมือวิจัยผ่านการตรวจสอบคุณภาพ โดยโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพได้ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 6 ท่าน และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองนำไปทดสอบค่าความเชื่อมั่นได้เท่ากับ .81 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา, fisher’s exact test, independent t-test และ paired t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังการเข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม และสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับคำแนะนำตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ สามารถส่งเสริมการรับรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง นำไปสู่การปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621231129 จารุวรรณ จันดาหงษ์-WM.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.