Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78373
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริรัตน์ ปานอุทัย-
dc.contributor.advisorพนิดา จันทโสภีพันธ์-
dc.contributor.authorตยารัตน์ พุทธิมณีen_US
dc.date.accessioned2023-07-09T04:10:50Z-
dc.date.available2023-07-09T04:10:50Z-
dc.date.issued2022-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78373-
dc.description.abstractAppropriate self-management among older persons with chronic kidney disease (CKD) requires education to promote their health literacy. This experimental research aimed to study the effects of PITS-based education to enhance the health literacy on self-management of older persons with CKD stage 1-3. The sample consisted of older persons with CKD stages 1-3 receiving services at the sub-district health promoting hospitals in Muang district, Lampang province. Fifty-four subjects were randomly selected, and 27 subjects were equally assigned into either the control or the experimental group. The experimental group was given group education 4 times, twice a week and one session for individual education resulting in a total education period of 5 times over 3 weeks. The control group was given routine care. The research instruments included a teaching plan, the health literacy manual for CKD stage 1-3 patients, a CKD stage 1-3 video, an understanding personal perception scale, and a health literacy for CKD questionnaire. Data collection tools consisted of a personal and illness data recording form and the self-management behavior for older persons with CKD questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics, independent t-test and dependent t-test. The results revealed that the mean score for self-management of older persons with CKD stages 1-3 receiving PITS-based education was higher than the score for those receiving routine care (p < .001), and higher than before, at a significant level (p < .001). The results indicate that PITS-based education can enhance health literacy and self-management among older persons with CKD stages 1-3. Hence, healthcare personnel can apply PITS-based education as a guideline for enhancing the self-management among older persons with CKD stages 1-3.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของการให้ความรู้ตามหลักพิตส์เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อการจัดการตนเองในผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังระยะ 1-3en_US
dc.title.alternativeEffect of PITS-based education health literacy on self-management among older persons with chronic kidney disease stage 1-3en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashไต -- โรค-
thailis.controlvocab.thashโรคไตในวัยสูงอายุ-
thailis.controlvocab.thashไต -- โรค -- ผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashไต -- โรค -- การดูแล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการจัดการตนเองที่เหมาะสมของผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการให้ความรู้เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ การวิจัยเชิงทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้ความรู้ตามหลักพิตส์เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อการจัดการตนเองในผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังระยะ 1-3 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังระยะ 1-3 ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง คัดเลือกโดยการสุ่มอย่างง่ายจำนวน 54 ราย และสุ่มเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 27 ราย กลุ่มทดลองได้รับการให้ความรู้แบบกลุ่ม จำนวน 4 ครั้ง สัปดาห์ละ 2 ครั้ง และการให้ข้อมูลรายบุคคลจำนวน 1 ครั้ง รวมการให้ความรู้ทั้งหมด 5 ครั้ง ระยะเวลา 3 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการสอน คู่มือความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะ 1-3 สื่อวิดีทัศน์โรคไตเรื้อรังระยะ 1-3 แบบวัดความเข้าใจของบุคคล และแบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้สูงอายุโรคไตวายเรื้อรัง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลการเจ็บป่วย และแบบสอบถามพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุที่เป็นโรคไตเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบทีแบบอิสระ และการทดสอบทีแบบไม่เป็นอิสระ ผลการวิจัยพบว่าค่าเฉลี่ยคะแนนการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังระยะ 1-3 ที่ได้รับการให้ความรู้ตามหลักพิตส์มากกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และมากกว่าก่อนได้รับการให้ความรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการให้ความรู้ตามหลักของพิตส์ส่งผลให้ความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองในผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังระยะ 1-3 ดีขึ้น ดังนั้นบุคลากรสุขภาพสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมการจัดการตนเองในผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังระยะ 1-3en_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631231108 ตยารัตน์ พุทธิมณี Watermark.pdf2.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.