Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78372
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปิยะวัฒน์ ตรีวิทยา | - |
dc.contributor.advisor | สุภาพร ชินชัย | - |
dc.contributor.author | ทิพย์วิมล เกษเพ็ชร | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-09T04:05:32Z | - |
dc.date.available | 2023-07-09T04:05:32Z | - |
dc.date.issued | 2022-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78372 | - |
dc.description.abstract | Stroke is the leading cause of aphasia with an incidence of 33% resulting in language impairment, including speaking, auditory comprehension, reading, and writing. Nowadays, technology is used to participate in self-administered training, allowing the client to restore and improve their speech characteristics. This study aimed to develop an application on Android mobile devices for language rehabilitation with an emphasis on word naming and to explore the effectiveness of the application after applying it among 8 caregivers and 8 participants. This study was conducted in a Small N experimental type of suspension of action (A-B-A: Withdrawal Design) divided into 3 phases: (1) Phase A was a baseline phase for 2 weeks, (2) Phase B was the training phase for 6 weeks, and (3) Phase A, was the withdraw phase for 4 weeks, total study for 12 weeks consecutively The results showed that after the primary using the application to practice word recognition with their participants for 6 weeks, their naming scores which were measured by Thai Adaptation of the Western Aphasia Battery (WAB) scores increased among the participant. They had an increase in naming scores when assessed and improved naming skills by themselves through applications increased. From the results of the study, it was concluded that the application developed by the researcher enhances the naming skills and may reduce the time to naming the words when repetitive stimulation exercises in the form of intensive training combined with the provision of a variety of cueing, it enhances the naming skill of the clients. And the satisfaction of using the application is at the highest level. In addition, this application is useful for promoting the ability to remember words for the service recipient including those with language disabilities. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Aphasia, Application, Cueing, Naming | en_US |
dc.title | การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อฝึกการนึกคำศัพท์ภาษาไทยสำหรับผู้รับบริการที่มีภาวะเสียการสื่อความ | en_US |
dc.title.alternative | Development of Thai Naming application for clients with aphasia | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | สมอง -- โรค | - |
thailis.controlvocab.thash | ความบกพร่องทางภาษา | - |
thailis.controlvocab.thash | ภาวะเสียการสื่อความ | - |
thailis.controlvocab.thash | การสื่อสาร -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดภาวะเสียการสื่อความหรืออะเฟเซีย (aphasia) พบได้ประมาณร้อยละ 33 ของผู้รับบริการทั้งหมด ซึ่งส่งผลให้เกิดความบกพร่องทางด้านภาษา (language modalities) ได้แก่ การพูด การฟังเข้าใจ การอ่านและการเขียน ปัจจุบันมีการใช้เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมกับการฝึกฝนด้วยตนเองซึ่งช่วยให้ผู้รับบริการสามารถฟื้นฟูและปรับลักษณะทางการพูดให้ดีขึ้นได้ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันสำหรับการบำบัดฟื้นฟูด้านภาษาที่เกี่ยวข้องกับการนึกคำศัพท์บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์และเพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมแอปพลิเคชันที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นสำหรับการฟื้นฟูสมรรถภาพทางด้านการฝึกการนึกคำศัพท์ ซึ่งมีอาสาสมัครกลุ่มผู้ดูแลหลักเป็นผู้ใช้แอปพลิเคชันจำนวน 8 ราย ในการฝึกบำบัดให้กับผู้รับบริการโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะเสียการสื่อความจำนวน 8 ราย โดยศึกษาในรูปแบบการทดลองรายบุคคลประเภทการระงับวิธีการจัดกระทำ (A-B-A: withdrawal design) แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ (1) ระยะ A ระยะเส้นฐาน ก่อนการให้แอปพลิเคชันในการฝึกให้กับผู้รับบริการเป็นเวลา 2 สัปดาห์ (2) ระยะ B ผู้ดูแลหลักเป็นผู้ใช้แอปพลิเคชันในการฝึกให้กับผู้รับบริการเป็นระยะเวลาต่อเนื่อง 6 สัปดาห์และ (3) ระยะ A ระยะถอนการใช้แอปพลิเคชันในการฝึกให้กับผู้รับบริการเป็นเวลา 4 สัปดาห์ รวมระยะการทดลองทั้งสิ้น 12 สัปดาห์ ผลการวิจัยพบว่า หลังจากให้ผู้ดูแลหลักใช้แอปพลิเคชันในการฝึกการนึกคำศัพท์ให้กับผู้รับบริการอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ ผู้รับบริการมีคะแนนการนึกคำศัพท์เพิ่มขึ้นเมื่อทำการประเมินด้วย Thai Adaptation of the Western Aphasia Battery (WAB) และสามารถนึกคำศัพท์ได้ด้วยตนเองผ่านแอปพลิเคชันเพิ่มขึ้น จากผลการศึกษาสรุปได้ว่าแอปพลิเคชันที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีส่วนช่วยส่งเสริมศักยภาพด้านการนึกคำศัพท์ของผู้รับบริการและอาจสามารถปรับลดเวลาในการนึกคำศัพท์ลดลงได้เมื่อมีการฝึกกระตุ้นซ้ำ ๆ ในรูปแบบการฝึกที่มีความเข้มข้นร่วมกับการให้ตัวช่วยชี้นำที่หลากหลายมีส่วนช่วยส่งเสริมศักยภาพในการนึกคำศัพท์ของผู้รับบริการและผู้ดูแลหลักมีความพึงพอใจต่อการใช้แอปพลิเคชันอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด อีกทั้งแอปพลิเคชันนี้เป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้เพื่อส่งเสริมศักยภาพด้านการนึกคำศัพท์ให้กับผู้รับบริการรายอื่นต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | AMS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
601131009 Tipwimol Ketphet.pdf | การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อฝึกการนึกคำศัพท์ภาษาไทยสำหรับผู้รับบริการที่มีภาวะเสียการสื่อความ | 5.17 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.