Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78368
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโรจนี จินตนาวัฒน์-
dc.contributor.advisorพนิดา จันทโสภีพันธ์-
dc.contributor.authorปาลิกา ธนหิรัญกิจทองen_US
dc.date.accessioned2023-07-09T03:41:42Z-
dc.date.available2023-07-09T03:41:42Z-
dc.date.issued2022-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78368-
dc.description.abstractSelf-management among older persons with congestive heart failure is rather complex. Therefore, the ability to control the symptoms of the disease needs adequate health literacy. This correlational descriptive research aimed to examine health literacy, self-management, and the relationship between health literacy and self-management among older persons with congestive health failure. Participants were older persons with congestive heart failure who visited a heart failure clinic at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. The 84 participants were selected using convenience sampling during September to November 2021. The research instruments used in this study included a demographic data recording form, and a health literacy and self-management behaviors scale for older persons with congestive heart failure. Data were analyzed using descriptive statistics and Spearman’s rank correlation. The results indicated that health literacy and self-management were at high levels. Health literacy had a positive relationship with self-management at a high level with statistical significance (r = 0.70, p < .01). The results from this study demonstrate the benefits for health care providers in encouraging health literacy and self-management among older persons with congestive heart failure.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวen_US
dc.title.alternativeHealth literacy and self-management among older persons with congestive heart failureen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashหัวใจวาย -- ผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashความรอบรู้ทางสุขภาพ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวนั้นค่อนข้างซับซ้อน ดังนั้นศักยภาพในการควบคุมอาการของโรคจึงจำเป็นต้องมีความรอบรู้ด้านสุขภาพที่เพียงพอ การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพ การจัดการตนเอง และความสัมพันธ์ของความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวที่มารับการรักษาที่คลินิกภาวะหัวใจล้มเหลวที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ จำนวน 84 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามสะดวก ตั้งแต่เดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติสหสัมพันธ์สเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า ความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองอยู่ในระดับสูง ความรอบรู้ด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการจัดการตนเองในระดับสูงโดยมีนัยสำคัญทางสถิติ ( r = .70, p < .01 ) ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงประโยชน์สำหรับผู้ให้บริการด้านสุขภาพ ในการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.