Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78341
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ | - |
dc.contributor.advisor | ชูชาติ สันธทรัพย์ | - |
dc.contributor.author | ณัฎฐณิชา พรมภักดี | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-06T01:00:43Z | - |
dc.date.available | 2023-07-06T01:00:43Z | - |
dc.date.issued | 2023-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78341 | - |
dc.description.abstract | The aim of this experiment was to study the effect of irrigation on growth and yield of strawberry grown in coir base substrate in greenhouse. This experiment was divided into 2 steps, the first step was the selection the substrate for strawberry cultivation. The substrate used in this experiment were coconut coir, a coir-sand mix, coconut coir compost, a coir compost-sand mix, a coir compost-coir mix and a coir compost-coir-sand mix. This experiment compared some physical properties of the substrate, including total porosity. water holding capacity and air porosity. The results showed that, a coir compost-coir mix had the highest the total porosity content (55.89 % by volume). Coconut coir, coconut coir compost, a coir compost-sand mix and a coir compost-coir-sand mix had the total porosity content was not significantly different, and a coir-sand mix had the lowest total porosity content (47.62 %). Coconut coir had the highest water holding capacity content (35.34 %). coconut coir compost, a coir compost-coir mix and a coir compost-coir-sand mix had the water holding capacity was not significantly different, a coir compost-sand mix and a coir-sand mix had the lowest water holding capacity content (17.80 %). a coir compost-sand mix and a coir compost-coir mix had the highest air porosity content (25.78 and 22.98 % respectively), followed by a coir-sand mix, coconut coir compost and a coir compost-coir-sand mix respectively. Coconut coir had the lowest air porosity content (12.28 %). The substrates that had the optimum water holding capacity content were coconut coir compost, a coir compost-sand mix, a coir compost-coir mix and a coir compost-coir-sand mix. Moreover, after experimental, a further experiment on the collapse of thesubstrate was performed, it was found that the collapse of the substrate depended on the material being mixed. Coconut coir compost has the most collapse (0.58 cm). The substrates mixed with sand had a smaller collapse in ratio to the mix. But sand is heavy, it can be causing obstacle in cultivation in greenhouses. Therefore, a coir compost-coir-sand mix was chosen as the experimental substrate in the next step. The next step is studying the effect of watering regimes on the growth of strawberries. Strawberry (Pharachatan 80) was grown in A coir compost-coir-sand mix with 4 different irrigation: (1) Irrigation according to farmer (control) (2) according to water requirements of plant (ETc) (3) controlling the material moisture at water holding capacity (WHC) and (4) controlling the material moisture at 90% WHC, Measuring crown diameter, crown number, plant height, leaf greenness, root length, leaf area, fresh weight of stem, dry weight of stem, fresh weight of root and dry weight of root. There was no significant in crown diameter, crown number, leaf greenness, leaf area and dry weight of root. However, Plant height of (2) (3) and (4) irrigation was significantly lower than the control. But Root length is highest in plant growing in (4) (29.60 cm) irrigation followed by (3) (24.20 cm), (2) (23.80 cm) and (1) (19.10 cm) irrigation respectively. Fresh weight of stem is highest in plant growing in (1) (21.75 g) followed by (2) (16.84 g), (3) (11.18 g) and (4) (11.00 g) irrigation respectively. Dry weight of stem is highest in plant growing in (1) (6.20 g) followed by (2) (4.63 g), (4) (2.84 g) and (3) (3.08 g) irrigation respectively. Fresh weight of root is highest in plant growing in (1) (22.25 g) but it was no significant in plant growing in (2), (3) and (4) (11.82, 10.87 and 9.56 g respectively). As a result of these data, (4) irrigation could be recommended because it can reduce water loss which leads to reduced production costs. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลของการใช้ขุยมะพร้าวเป็นวัสดุปลูกรูปแบบต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสตรอว์เบอร์รีในโรงเรือน | en_US |
dc.title.alternative | Effects of using coir-based substrate in different form on strawberry growth in greenhouse | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | สตรอว์เบอร์รี -- การปลูก | - |
thailis.controlvocab.thash | สตรอว์เบอร์รี -- การเจริญเติบโต | - |
thailis.controlvocab.thash | มะพร้าว | - |
thailis.controlvocab.thash | ปุ๋ย | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการให้น้ำบนวัสดุปลูกที่พัฒนาจากขุยมะพร้าว ที่เหมาะสมต่อสตรอว์เบอร์รีที่ปลูกในโรงเรือน โดยการทดลองได้แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 คือการคัดเลือกวัสดุปลูกที่เหมาะสมต่อการปลูกสตรอว์เบอร์รี ซึ่งวัสดุปลูกที่ใช้ศึกษา ได้แก่ ขุยมะพร้าว ขุยมะพร้าว:ทราย ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว:ทราย ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว: ขุยมะพร้าว และ ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว:ขุยมะพร้าว:ทราย โดยทำการทดลองเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพของวัสดุปลูก ได้แก่ ความพรุนทั้งหมด ความสามารถในการอุ้มน้ำ และ ช่องว่างอากาศ ซึ่งจากการทดลองพบว่าวัสดุปลูกแต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพที่แตกต่างกันตามลักษณะ ของวัสดุปลูก พบว่าความพรุนทั้งหมด ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว:ขุยมะพร้าว มีปริมาณสูงสุด (55.89 % โดยปริมาตร) ขุยมะพร้าว, ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว, ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว:ทราย และ ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว:ขุยมะพร้าว:ทราย มีปริมาณที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ และ ขุยมะพร้าว:ทราย มีปริมาณต่าสุด (47.62 %) ความสามารถในการอุ้มน้ำ ขุยมะพร้าว มีปริมาณสูงสุด (35.34 %) ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว, ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว:ขุยมะพร้าว และ ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว:ขุยมะพร้าว:ทราย ปริมาณที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ตามด้วย ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว:ทราย และ ขุยมะพร้าว:ทราย มีปริมาณต่าสุด (17.80 %) ช่องว่างอากาศ ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว:ขุยมะพร้าว และ ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว:ทราย มีปริมาณสูงสุด (25.78 และ 22.98 % ตามลาดับ) ตามด้วย ขุยมะพร้าว:ทราย, ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว, ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว:ขุยมะพร้าว:ทราย และ ขุยมะพร้าว ปริมาณต่าสุด (12.28 %) โดยพบว่าวัสดุปลูกที่มีค่าความสามารถในการอุ้มน้ำที่เหมาะสม ได้แก่ ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว, ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว:ทราย, ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว:ขุยมะพร้าว และ ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว:ขุยมะพร้าว:ทราย นอกจากนี้หลังจากทาการทดลอง ได้ศึกษาการยุบตัวของวัสดุปลูก พบว่า การยุบตัวของวัสดุขึ้นอยู่กับวัตถุตั้งต้นที่นำมาผสม ซึ่งวัสดุที่มีขนาดเล็ก ผ่านการย่อยสลายแล้ว คือปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว มีการยุบตัวมากสุด (0.58 เซนติเมตร) และวัสดุปลูกที่ทาการผสมทรายมีการยุบตัวน้อยตามสัดส่วนที่ผสม แต่ทรายคือวัสดุที่มีน้ำหนักมากอาจเป็นอุปสรรคในการเพาะปลูกในโรงเรือนดังนั้นจึงเลือก ปุ๋ยหมักขุยมะพร้าว:ขุยมะพร้าว:ทราย จึงเป็นวัสดุปลูกทดลองในขั้นตอนถัดไป ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาผลของการให้น้าต่อการเจริญเติบโตของสตรอว์เบอร์รี (พระราชทาน 80) โดยมีการให้น้าที่แตกต่างกัน 4 กรรมวิธีได้แก่ (1) การให้น้ำตามเกษตรกรปฏิบัติ (ชุดควบคุม) (2) ตามความต้องการน้ำของพืช (ETc) (3) ควบคุมความชื้นวัสดุที่ water holding capacity (WHC) และ (4) ควบคุมความชื้นวัสดุที่ 90%WHC โดยทำการวัด เส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้น จำนวนกอต่อต้น ความสูง leaf greenness ความยาวราก พื้นที่ใบ น้ำหนักสดและแห้งของต้นและรากหลังจากทำการทดลอง ซึ่งจากการทดลองพบว่า ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้น จำนวนกอต่อต้น leaf greenness พื้นที่ใบ และน้ำหนักแห้งของรากของราก จากการทดลองพบว่าแต่ละกรรมวิธีไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ โดยความสูงของต้นกรรมวิธีที่ (2) (3) และ (4) น้อยกว่าวิธีการควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ ความยาวรากกรรมวิธีที่ (4) มีค่าสูงสุด (29.60 เซนติเมตร) ตามด้วยกรรมวิธีที่ (3) (24.20 เซนติเมตร) ,กรรมวิธีที่ (2) (23.80 เซนติเมตร) และ กรรมวิธีที่ (1) (19.10 เซนติเมตร) ตามลำดับ น้ำหนักสดของต้น กรรมวิธีที่ (1) มีค่าสูงสุด (21.75 กรัม) ตามด้วยกรรมวิธีที่ (2) (16.84 เซนติเมตร) กรรมวิธีที่ (3) และ (4) มีค่าต่าสุด (11.18 และ 11.00 กรัม ตามลำดับ) น้ำหนักแห้งของต้น กรรมวิธีที่ (1) มีค่าสูงสุด (6.20 กรัม) ตามด้วยกรรมวิธีที่ (2) (4.63 กรัม) กรรมวิธีที่ (4) และ (3) มีค่าต่าสุด (2.84 และ 3.08 กรัม ตามลำดับ) น้ำหนักสดของราก กรรมวิธีที่ (1) มีค่าสูงสุด (22.25 กรัม) กรรมวิธีที่ (2),(3) และ (4) มีค่าที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (11.82, 10.87 และ 9.56 กรัม ตามลำดับ) จากการทดลองนี้สรุปได้ว่าการให้น้ำที่ 90%WHC เป็นปริมาณที่เหมาะสมต่อการผลิตสตรอว์เบอร์รี เพื่อลดการสูญเสียน้า ซึ่งนำไปสูงการลดต้นทุนการผลิต | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610831049 ณัฎฐณิชา พรมภักดี.pdf | 3.05 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.