Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78312
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Ratchadawan Cheewangkoon | - |
dc.contributor.advisor | Putarak Chomnunti | - |
dc.contributor.author | Patchareeya Withee | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-04T10:33:03Z | - |
dc.date.available | 2023-07-04T10:33:03Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78312 | - |
dc.description.abstract | รา Paramyrothecium เป็นสาเหตุโรคสำคัญในพืชหลากหลายทั่วโลก สามารถพบได้ทั้งในเขตร้อนชื้น และกึ่งร้อนชื้น รามถึงประเทศไทย ราชนิดนี้เป็นสาเหตุของโรคใบจุด และใบไหม้ในพืช หลายชนิด สร้างความเสียหายในพืชเศรษฐกิจหลายวงศ์ อย่างไรก็ตามในประเทศ ไทยยังคงมีข้อมูล การศึกษาของรากลุ่มนี้ค่อนข้างน้อย และมีข้อมูลการวินิจฉัยที่ไม่ชัดเจน การศึกษาครั้งนี้จึงมี จุดประสงค์เพื่อสำรวจ เก็บรวบรวม และข้อมูลพืชอาศัยของรา ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 ถึง กุมภาพันธ์ 2563 ในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน โดยการศึกษาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรรมของรา ใช้ข้อมูลทางสัญฐานวิทยา ร่วมกับข้อมูลทางอณู โมเลกุล สามารถรวบรวมราได้ทั้งหมด 16 ไอโซเลท จากพืช 14 ชนิด แบ่งออกเป็นวงศ์ ได้แก่ Aristolochiaceae Asteraceae Bignoniaceae Commelinaceae Cucurbitaceae Fabaceae Lamiaceae Rubiaceae และ Solonaceae จากนั้นทำการวิเคราะห์ลำดับนิวคลิโฮไทด์ของรา ในตำแหน่ง Internal transcribed spacers (ITS), RNA polymerase II second largest subunit (rpb2), B-tubulin (tub2) และ calmodulin (cmdA) พบว่า สามารถจัดจำแนกราได้ 4 ชนิด คือ Paramyrothecium breviseta จำนวน 2 ไอโซเลท P. eichhorniae จำนวน 5 ไอโซเลท, P. folicola จำนวน 1 ไอโซเลท และ P. vignicola จำนวน 1 ไอโซเลท ในการศึกษาครั้งนี้ได้ค้นพบรา P. vgnicola ซึ่งเป็นราชนิดใหม่ของโลก และ การศึกษาครั้งนี้เป็นการรายงานรา P. breviseta และ P. folicola เป็นครั้งแรกของประเทศไทย สาย พันธุ์เหล่านี้ได้รับการยืนยันว่าเป็นสาเหตุของโรคใบจุดผ่านการทดสอบการก่อโรค นอกจากนี้การ ทดสอบการก่อโรคในการเข้าทำลายพืชอาศัยต่างชนิดบน Coffea arabica Commelina benghalensis Glycine max Iละ Diefienbachia sequine แสดงให้เห็นช่วงพืชอาศับหลายตัวสำหรับราชนิดนี้ ดังนั้นรา Paramyrothecium ที่พบในประเทศไทย มีพืชอาศัยที่กว้าง มีความสามารถในการเข้าทำลาย พืชต่าง วงศ์ (host jump abiliy) และจำเป็นต้องมีการวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพืชอาศัยกับราParamyrothecium ที่ทำให้เกิดโรคจุดใบและการจัดการความเครียดจากสิ่งมีชีวิตที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่อาจส่งผลต่อสุขภาพของพืชและความอ่อนแอต่อโรค ดังนั้นการระบุ ชนิดและติดตามกลุ่มเชื้อราในสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมจึงมีความสำคัญต่อการทำความเข้าใจโรค อุบัติใหม่ และสำหรับการดำเนินการตามกลยุทธ์การจัดการโรค | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Diversity and phylogeny of the genus Paramyrothecium causing leaf spot from Chiang Mai and Mae Hong Son Provinces | en_US |
dc.title.alternative | ความหลากหลายและความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของราสกุล Paramyrothecium สาเหตุโรคใบจุดจากจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Fungi in agriculture -- Chiang Mai | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Fungi in agriculture -- Mae Hong Son | - |
thailis.controlvocab.thash | Plant diseases -- Chiang Mai | - |
thailis.controlvocab.thash | Plant diseases -- Mae Hong Son | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | Species of Paramyrothecium are prominent plant pathogens on a wide variety of host plants, particularly in tropical and subtropical regions, including Thailand. These fungal genera cause leaf spot and leaf blight diseases and causing damages to many economic crops. However, very few studies are reported from Thailand. The objective of this study is to survey, collect fungal strains, including host plant data to study the diversity and phylogenetic relationship of Paramyrothecium species Chiang Mai and Mae Hong Son provinces, Northern Thailand. The survey and the collections were conducted during October 2019- February 2020, 16 isolates from 14 host species across nine families were collected. The new species Paramyrothecium vignicola was identified based on morphology and concatenated (ITS, cmdA, rpb2, and tub2) phylogeny. Further, P. breviseta and P. folicola represented novel geographic records to Thailand, while P. eichhorniae represented a novel host record These species were confirmed to be the causal agents of the leaf spot disease through pathogenicity assay. Furthermore, cross pathogenicity tests on Coffea arabica, Commelina benghalensis, Dieffenbachia seguine and Glycine max, revealed the multiple host range for these pathogens. Further research is required into the host-pathogen relationship of Paramyrothecium species that cause leaf spot and their management. Biotic and abiotic stresses caused by climate change, may affect plant health and disease susceptibility. Hence, proper identification and monitoring of fungal communities in the environment are important to understand emerging diseases and for implementation of disease management strategies. | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630831011 พัชรียา วิถี.pdf | 3.81 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.