Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78282
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรันธรณ์ จงรุ่งโรจน์สกุล-
dc.contributor.advisorอนนท์ วิสุทธิ์ธนานนท์-
dc.contributor.authorณัฐนิชา วารีสมานen_US
dc.date.accessioned2023-07-03T01:18:56Z-
dc.date.available2023-07-03T01:18:56Z-
dc.date.issued2022-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78282-
dc.description.abstractOccupational illnesses and injuries are the partly result of unsafe work practices. Safety training, an occupational health and safety standard, could either reduce or prevent such illnesses and injuries. This quasi-experimental research aimed to examine the effect of integrated safety training on safety work practices among 54 waste collectors working in Su-ngai Kolok and Muang districts in Narathiwat Province. The workers were equally divided into an experimental or a control group (27 in each). The study was implemented during September to November 2021. The research instruments consisted of 1) an integrated safety promotion program on safety work practices which was developed based on the literature review, and 2) a questionnaire on safe working practices among waste collectors modified from a safety work behaviors questionnaire by Sitthichai Jaikhan et al. (2019). The content validity of the questionnaire was confirmed by experts with a content validity index of 0.97 while reliability was at an acceptable level (0.86 - 0.90). Data were analyzed using descriptive statistics and t-test. The findings showed that after receiving the integrated safety promotion program on safety work practices, the mean scores for safety work practices among the experimental group (x ̅ = 73.89, S.D.=1.12) were significantly higher than those of the control group (x ̅ = 47.93, S.D.= 2.45) (p<.001). Furthermore, it was found that the mean score for safety work practices among the experimental group after receiving the integrated safety promotion program (x ̅ = 73.89, S.D.= 2.45) was significantly higher than that before receiving the program (x ̅ = 47.85, S.D.= 2.16) (p<.001). These findings indicate that occupational health nurses and related staff should place great concern on the application of integrated safety promotion programs into their own work. This is anticipated to enhance safety work behaviors, thereby, reducing occupational illnesses and injuries, as well as enhancing the quality of working life among waste collectors.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโปรแกรมสร้างเสริมความปลอดภัยเชิงบูรณาการen_US
dc.subjectความปลอดภัยในการทำงานen_US
dc.subjectพนักงานเก็บขยะen_US
dc.subjectอุกปรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลen_US
dc.subjectกฏระเบียบความปลอดภัยen_US
dc.subjectIntegrated Safety Promotion Programen_US
dc.subjectSafety worken_US
dc.subjectWaste Collectorsen_US
dc.subjectPersonal Protective Equipmenten_US
dc.subjectSafety regulationsen_US
dc.titleผลของโปรแกรมสร้างเสริมความปลอดภัยเชิงบูรณาการต่อการปฏิบัติความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานเก็บขยะen_US
dc.title.alternativeEffect of the Integrated Safety Promotion Program on Safety Work Practices of Waste Collectorsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashพนักงานเก็บขยะ-
thailis.controlvocab.thashอุบัติเหตุ -- การป้องกัน-
thailis.controlvocab.thashอาชีวอนามัย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการเจ็บป่วยและบาดเจ็บจากการทำงานส่วนหนึ่งเป็นผลลัพธ์จากการปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัยการอบรมความปลอดภัยซึ่งเป็นหนึ่งมาตรฐานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สามารถทั้งจัดการและป้องกันการเจ็บป่วยและบาดเจ็บจากการทำงานดังกล่าว การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการโปรแกรมสร้างเสริมความปลอดภัยเชิงบูรณาการต่อการปฏิบัติความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานเก็บขยะ อำเภอสุไหงโกลก และอำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส จำนวน 54 คน เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 27 คน ดำเนินการทดลองในช่วงเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมสร้างเสริมความปลอดภัย เชิงบูรณาการต่อการปฏิบัติความปลอดภัยในการทำงานที่สร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม และ 2) แบบสอบถามการปฏิบัติความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานเก็บขยะที่ดัดแปลงจากแบบสอบถามพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของสิทธิชัย ใจขาน และคณะ (2562) ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.97 ทดสอบความเชื่อมั่นได้ค่าในระดับที่ยอมรับ (0.86 - 0.90) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการได้รับโปรแกรมสร้างเสริมความปลอดภัยเชิงบูรณาการ คะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติความปลอดภัยในการทำงานของกลุ่มทดลอง (x ̅ = 73.89, S.D.=1.12) สูงกว่า กลุ่มควบคุม (x ̅ = 47.93, S.D.=2.45) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) นอกจากนี้ยังพบว่าคะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติความปลอดภัยในการทำงานของกลุ่มทดลอง (x ̅ = 73.89, S.D.= 2.45) ภายหลังการได้รับโปรแกรมสร้างเสริมความปลอดภัยเชิงบูรณาการสูงกว่าก่อนการอบรม (x ̅ = 47.85, S.D.= 2.16) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า พยาบาลอาชีวอนามัยรวมทั้งบุคลากรที่เกี่ยวข้องควรให้ความสำคัญต่อการนำโปรแกรมสร้างเสริมความปลอดภัยเชิงบูรณาการไปประยุกต์ในการปฏิบัติงานของตนเอง เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงานให้เกิดความปลอดภัย นำไปสู่การลดการเจ็บป่วยและบาดเจ็บที่เกี่ยวเนื่องจากการทำงาน ทั้งส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตการทำงานในกลุ่มพนักงานเก็บขยะen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621231105 ณัฐนิชา วารีสมาน watermark.pdf1.68 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.